คู่มือ - agri.rmutsb.ac.th · ส วนประกอบตอนต น...

33
คูมือปญหาพิเศษ คณะเทคโนโลยีการเกษตรและอุตสาหกรรมเกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล .. 2551

Transcript of คู่มือ - agri.rmutsb.ac.th · ส วนประกอบตอนต น...

Page 1: คู่มือ - agri.rmutsb.ac.th · ส วนประกอบตอนต น ประกอบไปด วย ปกนอก ใบรองปก ใบรับรองป

คูมือปญหาพิเศษ คณะเทคโนโลยีการเกษตรและอุตสาหกรรมเกษตร

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล

พ.ศ. 2551

Page 2: คู่มือ - agri.rmutsb.ac.th · ส วนประกอบตอนต น ประกอบไปด วย ปกนอก ใบรองปก ใบรับรองป

1

คํานํา

คูมือการจัดทํารายงานปญหาพิเศษน้ี จัดทําโดยอาศัยคูมือการเขียนปญหาพิเศษสําหรับนักศึกษาปริญญาตรี ของสาขาวิชาตาง ๆ และจากการตกลงรวมกันของคณะกรรมการ จัดทําคูมือปญหาพิเศษของคณะเทคโนโลยีการเกษตรและอุตสาหกรรมเกษตร เพื่อใชเปนแนวทางในการจัดทํารายงานปญหาพิเศษ

คณะเทคโนโลยีการเกษตรและอุตสาหกรรมเกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ

Page 3: คู่มือ - agri.rmutsb.ac.th · ส วนประกอบตอนต น ประกอบไปด วย ปกนอก ใบรองปก ใบรับรองป

2

คูมือปญหาพิเศษ คณะเทคโนโลยีการเกษตรและอุตสาหกรรมเกษตร

ปญหาพิเศษ (Special Problem)

คือการคนควา หรือ ทดลอง เพื่อหาคําตอบในปญหาใดปญหาหนึ่งท่ีสนใจ อาจเปนปญหาใหม หรือปญหาที่ยังไมทราบคําตอบท่ีแนนอน โดยอาจเปนการศึกษาจากเอกสาร จากการทดลอง จากการศึกษาสังเกต แลวนําผลท่ีไดนํามาวิเคราะหหาคําตอบ และรายงานผลที่ไดจากการคนควา หรือ การทดลอง วิจารณผล และสรุปผล สวนข้ันตอนสุดทายคือ การจัดทํารายงานปญหาพิเศษ

สวนประกอบของปญหาพิเศษประเภทวิจัยโดยการทดลอง

รายงานปญหาพิเศษ ประเภทวิจัยโดยการทดลอง มีสวนประกอบ 3 สวน คือ 1. สวนประกอบตอนตน ประกอบไปดวย 1.1 ปกนอก ใชตามแบบท่ีคณะเทคโนโลยีการเกษตรและอุตสาหกรรมเกษตรกําหนด พิมพช่ือเร่ืองท้ังภาษาไทย และภาษาอังกฤษช่ือผูศึกษา และ พ.ศ. (ใหใช พ.ศ. ท่ีจบการศึกษา) กระดาษปกนอกเปนกระดาษเนื้อหนา สีเขียว การพิมพใชตัวพิมพแบบเดียวกนัตลอดท้ังเลม ดังตัวอยาง 1.2 ใบรองปก เปนกระดาษเปลา 1 แผน ขนาดกระดาษ A4 ชนิด 70 แกรม ข้ึนไปเปนกระดาษชนิดเดียวกับกระดาษในเนื้อหาภายในเลม 1.3 ใบรับรองปญหาพิเศษ ใหใชตามแบบท่ีคณะ ฯ กําหนด โดยผานการลงนามของอาจารยท่ีปรึกษา กรรมการสอบ หัวหนาปญหาพิเศษสาขาวิชา และหัวหนาสาขาวิชา ดังตัวอยาง 1.4 ปกใน ขอความและวิธีการพิมพเหมือนปกนอก และพิมพในกระดาษขาว 1.5 บทคัดยอ เปนการสรุปผลของการศึกษา ท่ีมีเนื้อหาทั้งหมด ประกอบดวย ปญหา วัตถุประสงคของการศึกษา วิธีการศึกษา และผลของการศึกษาโดยยอ ดังตัวอยาง 1.6 คํานํา เปนขอความท่ีกลาวถึงรายละเอียดของวิชาปญหาพิเศษ (นําคําบรรยายรายวิชาและรหัสวิชาไปใส) สรุปทายดวยคําขอบคุณผูใหความชวยเหลือลงทายคํานําดวย “คณะผูจัดทํา” และวันเดือนปท่ีจัดทํารายงานปญหาพิเศษ

Page 4: คู่มือ - agri.rmutsb.ac.th · ส วนประกอบตอนต น ประกอบไปด วย ปกนอก ใบรองปก ใบรับรองป

3

1.7 สารบัญ เปนการแสดงหัวขอปญหาพิเศษและเลขหนา โดยพิมพ “เร่ือง” ไวดานซายมือและพิมพ “หนา” ไวดานขวา ท้ังนี้หนาคํานําใหนับเปนหนาแรก ใหใสหมายเลขไวในวงเล็บ คือ (1) หนาถัดไปคือสารบัญเปนหนาสองใส (2) และตอไปเร่ือย ๆ ดังตัวอยาง 1.8 สารบัญตาราง ดานซายมือใหพิมพคําวา “ตารางท่ี” ดานขวาพิมพคําวา “ หนา” ในระดับบรรทัดเดียวกัน แลวพิมพหมายเลขตาราง ช่ือตาราง และหมายเลขหนาของตารางนั้น ๆ ในบรรทัดตอไปเร่ือย ๆ แตหากตารางอยูในภาคผนวก ใหพิมพคําวา “ตารางผนวกท่ี” และพิมพหมายเลขตารางและเลขหนาในบรรทัดตอไป 1.9 สารบัญภาพ เชนเดียวกันกับสารบัญตาราง พิมพคําวา “ภาพท่ี” ดานซายมือ สวนดานขวามือพิมพคําวา “หนา” ดังตัวอยาง 2. สวนเนื้อหา ประกอบไปดวย 2.1 บทนํา ประกอบดวย ความนําของปญหาและเหตุผลท่ีทําการทดลอง มีวัตถุประสงคของการศึกษา โดยวัตถุประสงคเปนหัวขอยอย พิมพริมกระดาษดานซายมือ วัตถุประสงคอาจแยกออกเปนขอ ๆ หรือบรรยายตอเนื่องกันได บทนําหนาแรกนับเปนหนาท่ี 1 แตไมปรากฎเลขหนา 2.2 การตรวจเอกสาร เปนการคนควาขอมูลจากเอกสาร เพื่อเปนหลักฐาน โดยการอางอิงเอกสารขอมูลใชระบบ ช่ือและป การอางอิงตองตรงกับภาคเอกสารอางอิง 2.3 อุปกรณละวิธีการ อุปกรณเปนหัวขอขาง ใหพิมพริมชิดดานซายมือ โดยบอกถึงอุปกรณท่ีใชในการทดลอง สวนวิธีการเปนหัวขอขางเชนกัน เปนการบอกถึงการดําเนินการทดลอง เชน แนวการทดลอง วิธีสกัด การเก็บขอมูล นอกจากน้ีในบทนี้ควรบอกรายละเอียดเกี่ยวกับ เวลา สถานท่ีท่ีทําการทดลอง โดยแยกเปนหัวขอขางเชนเดียวกับวิธีการ 2.4 ผลและวิจารณ แยกหรือรวมกันก็ได หากแยกเขียน ผลจะเปนหัวขอขาง โดยผลเปนการนําเสนอขอคนพบจากการทดลอง นําเสนอดวยการบรรยาย ประกอบดวยภาพและตาราง สวนวิจารณเปนหัวขอขางเชนกัน เปนการอธิบายเหตุผลท่ีไดผลการทดลองนั้น ๆ ซ่ึงสนับสนุนหรือคัดคานกับทฤษฎีและเปรียบเทียบกับการทดลองของผูอ่ืน การวิจารณจึงตองมีการอางอิงประกอบดวย 2.5 สรุปขอเสนอแนะ สรุปเปนการกลาวถึงสาระสําคัญของผลการทดลองท่ีได ซ่ึงสามารถตอบสนองวัตถุประสงค หรือปญหาของการทดลองท่ีตั้งไวได สวนขอเสนอแนะอาจมีหรือไมมี หากมีขอเสนอแนะ ใหพิมพเปนหัวขอขาง เปนการแนะนําการนําผลการทดลองไปใช หรือนําไปทดลองเพ่ิมเติมใหเกิดความสมบูรณยิ่งๆข้ึนไป

Page 5: คู่มือ - agri.rmutsb.ac.th · ส วนประกอบตอนต น ประกอบไปด วย ปกนอก ใบรองปก ใบรับรองป

4

3. สวนอางอิง ประกอบไปดวย 3.1 เอกสารอางอิง ใหอางอิงเฉพาะเอกสารที่ใชอางอิงในเนื้อหาปญหาพิเศษ โดยพิมพตามช่ือเอกสารตามลําดับตัวอักษรใหใชภาษาไทยกอน แลวตามดวยภาษาอังกฤษ 3.2 ภาคผนวก อาจมีหรือไมมีก็ได อยูถัดจากหนาเอกสารอางอิง ใหพิมพคําวา “ ภาคผนวก”ไวกลางหนาและไมปรากฎเลขหนา แตนับจํานวนหนา สวนรายละเอียดของภาคผนวกท่ีตองการนําเสนอจะอยูในหนาถัดไป ซ่ึงอาจเปนขอมูลดิบ วิธีคํานวณ วิธีวิเคราะหหรือแบบสอบถาม

สวนประกอบปญหาพิเศษ ประเภทวิจัยเอกสาร

รายงานปญหาพิเศษ ประเภทวิจัยเอกสาร มีสวนประกอบ 3 สวนเชนเดียวกัน คือ 1. สวนประกอบตอนตน ประกอบไปดวย ปกนอก ใบรองปก ใบรับรองปญหาพิเศษ ปกใน บทคัดยอ คํานํา สารบัญ สารบัญตาราง สารบัญภาพ ซ่ึงการพิมพและการเรียงลําดับเชนเดียวกันกับรายงานปญหาพิเศษประเภทวิจัยโดยการทดลอง 2. สวนเนื้อหา ประกอบไปดวย บทท่ี 1 บทนํา ประกอบดวย ความสําคัญ คือ ความเปนมาของปญหา วัตถุประสงคของการศึกษา ขอบเขตของการศึกษา นิยามศัพท และประโยชนท่ีคาดวาจะไดรับ บทท่ี 2 เอกสารและงานวิจัยท่ีเกี่ยวของ ประกอบดวย แนวคิด ทฤษฎีท่ีเกี่ยวของ การตรวจเอกสารจากตํารา งานวิจัยท่ีเกี่ยวของกับการศึกษา บทท่ี 3 การดําเนินการศึกษา เปนวิธีการศึกษา สภาพท่ัวไปท่ีศึกษา รวมถึงการรวบรวมขอมูลการวิเคราะห บทท่ี 4 ผลการศึกษา เปนการนําขอมูลจากการศึกษา ดวยการบรรยายหรือนําเสนอดวยตารางภาพ โดยมีการอธิบายผล เปรียบเทียบถึงทฤษฎีหรืองานวิจัยของผูอ่ืน บทท่ี 5 สรุปขอเสนอแนะ สรุปเปนการนําเสนอผลการศึกษามาตอบคําถามของวัตถุประสงค สวนขอเสนอแนะ เปนการนําผลของการศึกษาไปใชประโยชน หรือการบอกขอจํากัดท่ียังไมสมบรูณของการศึกษา เพื่อใหผู ท่ีตองการนําขอมูลไปใชสามารถขยายผลการศึกษาตอไปหรือนําไปปรับและเลือกใชใหเหมาะสมตอไป 3. สวนอางอิง ประกอบดวย เอกสารอางอิง และภาคผนวก (ถามี)

Page 6: คู่มือ - agri.rmutsb.ac.th · ส วนประกอบตอนต น ประกอบไปด วย ปกนอก ใบรองปก ใบรับรองป

5

หลักเกณฑในการอางอิงในการตรวจเอกสาร

1. การอางอิงใหเปนแบบการบรรยาย เอกสารท่ีเขียนอางอิงในการตรวจเอกสารจะตองตรงกับเอกสารในภาคเอกสารอางอิง 2. ระบบที่ใชอางอิง คือ ระบบชื่อและป (Name and year) ใชป พ.ศ. ถาเปนภาษาไทยและ ค.ศ. ถาเปนภาษาอังกฤษ 3. การอางอิงเอกสารภาษาไทยใหใชช่ือตัว สวนเอกสารภาษาอังกฤษใหใชช่ือสกุล 4. แบบการอางอิง อาจแตกตางไปตามรูปประโยคท่ีเขียน เชน

การอางอิงแบบชื่อผูรายงานนําหนาประโยค

1. กรณี 1 คน สุภาพรรณ (2548) (ขอความ)…………………. Joslyn (2005) (ขอความ)......................................... 2. กรณี 2 คน สุภาพรรณและสาวิตร (2548) (ขอความ)................................ Joslyn and Goldstein (2005) (ขอความ)................................. 3. กรณี 3 คนข้ึนไป ใหไชและคณะ หรือ et al. ตอทายช่ือผูแตงคนแรก และคําวา et al. ใหใชตัวเอน สุเทพและคณะ (2550) (ขอความ).............................................. Bury et al. (2007) (ขอความ)................................................... 4. กรณีท่ีเอกสารไมปรากฏผูเขียนใหใชดังนี้ นิรนาม (2549) (ขอความ)............................................................ Anonymous (2004) (ขอความ)................................................ 5. กรณีมีเอกสารมากกวา 1 ฉบับ ซ่ึงเอกสารแตละฉบับเขียนโดยผูเขียนคนละคนกัน แตมีช่ือเหมือนกันและพิมพในปเดียวกัน ใหไชอักษร ก , ข , ค ,......(ภาษาไทย) หรือ a, b , c ,……(ภาษาอังกฤษ) หลังป เชน สรพรรณ (2550 ก) (ขอความ)................................................... สรพรรณ (2550 ข) (ขอความ)................................................... สรพรรณ (2550 ก , ข) (ขอความ)............................................ นิรนาม (2551 ก) (ขอความ).......................................................

Page 7: คู่มือ - agri.rmutsb.ac.th · ส วนประกอบตอนต น ประกอบไปด วย ปกนอก ใบรองปก ใบรับรองป

6

นิรนาม (2551 ข) (ขอความ)....................................................... นิรนาม (2551 ก, ข) (ขอความ)................................................... Roberts (2006 a) (ขอความ)........................................................ Roberts (2006 b) (ขอความ)....................................................... Roberts (2006 a , b) (ขอความ).................................................. Anonymous (2007 a) (ขอความ).............................................. Anonymous (2007 b) (ขอความ)............................................. Anonymous (2007 a , b) (ขอความ)........................................ การเขียนในภาคเอกสารอางอิง จะตองใสอักษร ก , ข , ค,…… หรือ a , b , c,….. หลังป ตามท่ีไดอางอิงในภาคการตรวจเอกสารดวย 6. สําหรับกรณีท่ีมีเอกสารท่ีมีผูเขียนคนเดียวกัน มีเอกสารตีพิมพในปเดียวกันมากกวา 1 ฉบับ และมีผูเขียนท่ีมีช่ือเหมือนกันตีพิมพในปเดียวกัน ใหยึดถือตามหลักเกณฑในขอ 5

การอางอิงแบบชื่อผูรายงานตามหลังประโยค

1. กรณี 1 คน (ขอความ)..............(บัวแกว , 2549) (ขอความ).............(Kelly , 2005) 2. กรณี 2 คน (ขอความ)..............(พรพิมลและวันวิสา , 2550) (ขอความ).............(Keiiy and Rose , 2003) 3. ในกรณีท่ีมีผูดําเนินการ 3 คนข้ึนไป (ขอความ).............(อิสสรีย และคณะ , 2550) (ขอความ).............(Roberts et al., 2003) 4. ในกรณีท่ีมีเอกสารไมปรากฏชื่อผูเขียน (ขอความ).............(นิรนาม , 2550) (ขอความ).............(Anonymous , 2004) 5. ในกรณีท่ีเอกสารนํามาอางอิงในเร่ืองเดียวกัน มีมากกวา 1 ฉบับใหอางอิงโดยเรียงลําดับตามปโดยใช เคร่ืองหมาย , และ ; ดังนี้ (ขอความ).............(ณรงค, 2549; วิไล, 2550; เกริก, 2551; ชาญชัยและคณะ, 2551)

Page 8: คู่มือ - agri.rmutsb.ac.th · ส วนประกอบตอนต น ประกอบไปด วย ปกนอก ใบรองปก ใบรับรองป

7

(ขอความ)............(Smith, 2003; Anderson and Lang, 2004; Gerer et al., 2005) 6. ในกรณีท่ีเอกสารนํามาอางอิงในเร่ืองเดียวกันมากกวา 1 ฉบับ และมีผูดําเนินการคนไทยหรือชาวตางประเทศ ใชผูดําเนินการที่เปนชาวไทยอางอิงกอน โดยอาศยัการเรียงลําดับตามป (ขอความ).............(นภา, 2550; นิอร, 2551; Smith, 2004; Lang and Anderson, 2005) 7. ในกรณีท่ีมีเอกสารมากกวา 1 ฉบับ เขียนโดยผูเขียนคนละคนกัน แตมีช่ือเหมือนกันและพิมพในปเดียวกัน ใหใชอักษร ก, ข, ค, ...... หรือ a, b, c, …. กํากับทายปแลวแตกรณี

หลักเกณฑการเขียนเอกสารอางอิง / บรรณานุกรม

1. การเรียงลําดับเอกสารไมตองมีเลขกํากับ ใหเรียงลําดับช่ือผูแตงหรือรายงานตามอักษร เร่ิมดวยเอกสารภาษาไทยกอนแลวตามดวยเอกสารภาษาตางประเทศ เอกสารอางอิงหลายเร่ืองท่ีมีผูแตงคนเดียวกันหรือชุดเดียวกัน ใหเรียงลําดับปของเอกสาร ถามีเอกสารอางอิงหลายเร่ือง โดยผูแตงคนเดียวกัน หรือชุดเดียวกันภายในปเดียวกัน ใหใส อักษร ก , ข , ค ,…… ในเอกสารภาษาไทย และ a , b , c ,...... ในเอกสารภาษาตางประเทศไวหลังปของเอกสาร 2. การเขียนช่ือผูเขียน กรณีเอกสารภาษาไทยใหใชช่ือเต็ม โดยใชช่ือตัวนําหนาตามดวยช่ือสกุล ในกรณีท่ีผูแตงไมไดเขียนช่ือเต็มหรือไมอาจหาชื่อเต็มของผูแตง อนุโลมใหใชช่ือยอได กรณีเอกสารภาษาตางประเทศใหใชอักษรลาติน โดยเอาช่ือสกุลข้ึนกอนตามดวยช่ืออ่ืนๆ สําหรับช่ือสกุลใหเขียนเต็ม สวนช่ืออ่ืนๆใหเขียนเฉพาะตัวอักษรแรก ยกเวนกรณีท่ีจําเปนตองเขียนเต็ม เชน Van , de , der , von เปนตน 3. หลักเกณฑท่ีสําคัญของการเขียนรายช่ือเอกสารอางอิง มีดังนี้ 3.1 ช่ือเมือง ช่ือรัฐ และช่ือประเทศ ใหเขียนเต็ม 3.2 การอางหมายเลขหนาของเอกสารภาษาตางประเทศ ถาอางเพียง 1 หนา ใช p. หลังตัวเลข ถาอางหลายหนาใช pp. หลังตัวเลข สําหรับเอกสารภาษาไทยใหใช น. หลังตัวเลขท้ังกรณีหนาเดียวและหลายหนา 3.3 ช่ือวิทยาศาสตรของส่ิงมีชีวิต ใหใชตัวเอนหรือขีดเสนใต 3.4 คําวา in vitro หรือ คําอ่ืนท่ีคลายกัน ใหใชตัวเอนหรือขีดเสนใต

Page 9: คู่มือ - agri.rmutsb.ac.th · ส วนประกอบตอนต น ประกอบไปด วย ปกนอก ใบรองปก ใบรับรองป

8

3.5 ช่ือวารสารภาษาตางประเทศ ตองเขียนดวยคํายอ ยกเวนช่ือยอไมได การยอช่ือวารสารใหยอตามท่ีวารสารฉบับนั้นๆกําหนดไวเปนตัวอยาง ซ่ึงมักจะพิมพไวท่ีหัว หรือทายหนากระดาษแลวแตวารสาร 3.6 ช่ือเร่ืองภาษาอังกฤษท่ีเอกสารนั้นอางถึงอีกทอดหนึ่ง ทุกคําจะตองข้ึนตนดวยตัวพิมพใหญ ยกเวนคําท่ีเปนคําหนานาม คําสันธาน และคําบุรพบท ในบางกรณี เชน ช่ือวิทยาศาสตร ชนิด (Species) ซ่ึงข้ึนตนดวยตัวพิมพเล็กอยูแลว ใหข้ึนตนดวยตัวพิมพเล็ก แตหากคําเหลานี้เปนคําแรกของช่ือเร่ืองใหข้ึนตนดวยตัวพิมพใหญ สวนเอกสารท่ีผูเขียนอางถึงหากมิใชหนังสือตํารา ใหพิมพเชนเดียวกับช่ือเร่ืองในวารสาร 3.7 ช่ือ Conference ใหเขียนเต็ม

ตัวอยางการเขียนเอกสารอางอิง

1. หนังสือ หรือ ตํารา

แบบการเขียน

ช่ือ-สกุลผูแตง. ป. ช่ือหนังสือ. ช่ือสํานักพิมพ, จังหวัด. จํานวนหนา . 1.1 ผูแตง 1 คน

วีรวุฒิ กตัญูกุล. 2526. การบริหารแมลงศัตรูขาว. หจก. พันนี่ลิชซ่ิง, กรุงเทพฯ. 119 น. Okiyama, M. 1988. An Atlas of Early Stage Fishes in Japan. Tokai University Press, Japan. 1154 p.

1.2 ผูแตง 2 คนข้ึนไป

สะอาด บุญเกดิ จเร สดากร และทิพยพรรณ สดากร. 2523. ช่ือพรรณไมเมืองไทย. กองทุน พิมพตําราปาไม คณะวนศาสตร, กรุงเทพฯ. 657 น. Sasa, M. and M. Kikuchi. 1995. Chironomidae [Diptera] of Japan. Univ. of Tokyo Press, Japan. 333 p. Metcalf, C.L., W. P. Flint and R.L.Metcalf. 1962. Destructive and Useful Insect , Their Habits And Control. 4th ed . McGraw – Hill Book Company, Inc. , USA. 1087 pp.

Page 10: คู่มือ - agri.rmutsb.ac.th · ส วนประกอบตอนต น ประกอบไปด วย ปกนอก ใบรองปก ใบรับรองป

9

1.3 อางอิงเอกสารของบุคคลหนึ่งท่ีปรากฏในหนังสือท่ีรวบรวมโดยอีกบุคคลหนึ่ง

เล่ือนศักดิ์ วัฒนกุล ปรีชา สุรินทร สมคิด ดิสถาพร และเอ็ช เอ เลย. 2541. โรคใบสีสม. น. 60- 70. ใน โรคขาวและศัตรูขาวของประเทศไทย. ศูนยวจิัยการอารักขาขาวกรมการ ขาว กระทรวงเกษตรและสหกรณ, กรุงเทพฯ. Litsinger, J. A. 1994. Cultural, Mechanical, and Physical Control of Rice Insects. pp. 549- 584 . In E.A. Heinrichs, (ed.). Biology and Management of Rice Insects. International Rice Reseach Institute. Wiley Eastern Limited, Printed in India .

1.4 อางอิงสองทอด คือเอกสารของบุคคลหน่ึงไดรับการอางโดยผูแตงหนงัสือ

นิตยา วชิรชัยไพศาล และ ชลอ ล้ิมสุวรรณ. 2528. การศึกษาโรคลิมโฟซิสติสในปลาขาวเมา น้ําลึก (Holocentrus rubus). อางโดย ชลอ ล้ิมสุวรรณ. โรคปลา. คณะประมง มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร, กรุงเทพ ฯ. 227 น. Power, G. 1978. Fish Population Structure in Arctic Lakes. cited by Chilton, D. and R. J. Beamish. Age Determination Methods for Fishes Studied by the Groundfish Program at the Pacific Biological Station. Department of Fisheries and Oceans, Ottawa. 102 pp.

2. วารสาร แบบการเขียน

ช่ือ-สกุลผูแตง. ป. ช่ือเร่ือง. ช่ือวารสาร. ปท่ี (ฉบับท่ี) : หนา-หนา.

ชุติมา ตันติกติติ และจรมัน วองวิทย. 2531. สัตวผิวดนิในบอเล้ียงกุง. วารสารสงขลานครินทร. 10(3) : 329-338 . Liu, L. S. and Lampert, D. 1999. Monitoring Chemical Interesterification. J. Am. Oil Chem. Soe ., 76(7) : 783

Page 11: คู่มือ - agri.rmutsb.ac.th · ส วนประกอบตอนต น ประกอบไปด วย ปกนอก ใบรองปก ใบรับรองป

10

3. รายงานประจําป 3.1 บุคคลเปนผูรายงาน

สมถวิล จริตควร และ วิภษูิต มัณฑะจิตร. 2534. สัตวทะเลหนาดินและสภาวะแวดลอมบาง ประการบริเวณพัทยาถึงทาเทียบเรือแหลมฉบัง. รายงานฉบับสมบูรณ. ภาควิชา วาริช ศาสตร. คณะวิทยาศาสตร. มหาวิทยาลัยบูรพา, ชลบุรี. 138 น. สุปราณี ชินบุตร และ ชลอ ล้ิมสุวรรณ. 2526. การศึกษาทางฮิสโตพยาธิวิทยาของปลาดุกดาน ท่ี เปนโรคโคนครีบหูบวม. เอกสารวิชาการ ฉบับท่ี 24. สถาบันประมงน้ําจืดแหงชาติ, กรมประมง. 8 น. เริงชัย ตันสกลุ. 2528. ผลกระทบการทํานากุงตอคุณภาพนํ้าชายฝงและระบบนิเวศบางประการ ของจังหวดัสงขลาและจังหวดันครศรีธรรมราช. การสัมนาปาชายเลนคร้ังท่ี 9 “การ อนุรักษปาชายเลนเพื่อสังคมไทยในศตวรรษหนา”. คณะกรรมการทรัพยากรธรรมชาติ ปาชายเลนแหงชาติ สํานักงานคณะกรรมการวิจัยแหงชาติ. 10 น.

3.2 กรณีสมาคม สภา คณะกรรมการ กรม กอง สํานักงาน ฯลฯ เปนผูรายงาน

สถาบันวิจัยขาว. 2542. หลักการผลิตขาวอินทรีย. สถาบันวิจยัขาว กรมวิชาการเกษตร. กระทรวงเกษตรและ สหหรณ. 28 น. ศูนยสารสนเทศการเกษตร. 2542. สถิติการเกษตรของประเทศไทย ปเพาะปลูก 240/41. เอกสาร เลขท่ี 31/2542. สํานักงานเศรษฐกิจการเกษตร. กระทรวงเกษตรและสหกรณ , กรุงเทพฯ. 309 น. สมาคมวิทยาศาสตรการเกษตรแหงประเทศไทย. 2512. การปองกันกําจัดศัตรูพืช. โรงพิมพ คุรุสภา, กรุงเทพฯ. 197 น. American Public Health Association , American Water Works Association , and Water Pollution Control Federation. 1975. Standard Method for the Examination of Water and Wastewater. 14th ed., American Public Health Association , Washington , D.C. 1193 p.

Page 12: คู่มือ - agri.rmutsb.ac.th · ส วนประกอบตอนต น ประกอบไปด วย ปกนอก ใบรองปก ใบรับรองป

11

3.3 กรณีอางเอกสารของบุคคลหน่ึงท่ีปรากฏในรายงานโดยอีกบุคคลหน่ึงหรือสมาคม สํานักงาน คณะกรรมการ ฯลฯ

ปรีชา วังศิลาบัตร. 2537. ผลของการใชพันธุขาวรวมกับการใชปุยอัตราตางๆท่ีมีผลตอปริมาณ เพล้ียกระโดดสีน้ําตาลและผลผลิตขาว. น. 206-228. ใน การประชุมสัมนาทาง วิชาการ แมลงและศัตรูพืช 2537 คร้ังท่ี 9. กองกีฏและสัตวิทยา กรมวิชาการเกษตร, 21-24 มิถุนายน 2537 ณ โรงแรมแกรนด จอมเทียนพาเลช, ชลบุรี. อรุณี วงษประกอบรัษฎ วชัรา ชุณหวงศ และอรนุช กองกาญจนะ. 2540. ชนิดและปริมาณ แมลงศัตรูและผลกระทบตอการเขาทําลายในขาวโพดเทียนพันธุตางๆ. น. 7 ใน รายงานผลวิจยั ประจําป 2540. กลุมงานวิจยัศัตรูขาวโพดและพืชไรอ่ืนๆ กองกีฏและ สัตววิทยา กรมวิชาการเกษตร, กรุงเทพฯ . Zebitz , C.P.W. 1987. Potential of neem seed kernel extracts in mosquito control. p.555- 573 In Proceedings the Third International Neem Conference. Nairolbi , Kenya. 10-15 July, 1986

4. วิทยานิพนธ

สุพิชญา วงศชินวิทย. 2545. การจําแนกชนิดและการแพรกระจายของปลาวัยออนบริเวณปาชาย เลนในคลองหวาว จังหวัดระนอง. วิทยานิพนธปริญญาโท. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร, กรุงเทพฯ. คัมภีร ผาติเสนะ. 2546. รูปแบบการเลือกที่อยูอาศัยเพือ่ทดแทนประชากรของปลาสลิดหิน Pomacentrus cuneatus ในแนวปะการัง. วทิยานิพนธปริญญาโท. จุฬาลงกรณ มหาวิทยาลัย, กรุงเทพฯ .

5. เอกสารไมปรากฏชื่อผูพิมพ

นิรนาม. 2543. การปลูกผักสวนครัว ตอน 1. วารสารเจียไต. บริษัทเจียไตจํากัด. 3(9) : 12 Anonymous. 1975. Recommended methods for the detection and measurement of resistance of agricultural pest to pesticides. Plant Protection Bulletin FAO. 22:127- 137

Page 13: คู่มือ - agri.rmutsb.ac.th · ส วนประกอบตอนต น ประกอบไปด วย ปกนอก ใบรองปก ใบรับรองป

12

6. เอกสารจากอินเตอรเนต (Online article)

จุฑา แมนกจิ. 2541. ไอศกรีม. อาหารจากนม. [Online] Available http : //www.car.chula.ac. th./mis/mkalata/food_96. ซูม. 2542. บุญของคนไทย. ไทยรัฐ. [Online] Available http : //www.thairat.co.th [2549, สิงหาคม 16]. วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร. สารานุกรมไทยสําหรับเยาวชนเลม 11. 2542. [Online] Available http : //kanchanapisek.or.th/kp6/book11/chapter/t11-1-12.htm#sect4 [2542, ตุลาคม 25]. อรรถศิษฐ วงศมณีโรจน. 2542. ประวัติและความเปนมาของความอุดมสมบูรณของดิน. ความ อุดมสมบูรณของดิน. [Online] Available http : //158.108.200.11/soil/009hom- 1/009421/chap1.htm#era1 [2546, มกราคม 28]. Barlow. P. 1992. The Joshua tree quakes. CORE. [Online]. 1(18). Available FTP: ftp.eff.org Directory: pub/journals File: Corel.08 Chumpot Wanichagul. ([email protected]). [1998, January 17] Websis. E-mail to Stanley Aung ([email protected]]. Kenneth, I. 1998. A Buddhist response to the nature of human right. Journal of Buddhist Ethics. [Online] Available http : //www.cac.psu.edu/jbe/twocount.html. [1998, June 15]. Social Science Index [Bibliographic database], [CD-ROM]. 1993. H.W. Wilson (Producer). [Online] Available : UMI/Social Science Index [1995, July 10]. Sternberg, M. L. A. 1994. The American sign language dictionary On CD-ROM (Windows version), [CD-Rom]. Available : HarperCollins [1995, May 25]

การพิมพรายงานปญหาพิเศษ

1. กระดาษท่ีใช ใชกระดาษสีขาวขนาด A4 คุณภาพไมต่ํากวา 70 แกรม กรณีใชภาพถายประกอบ ใหถายภาพลงกระดาษพิมพเลม โดยเลือกภาพท่ีชัดเจน 2. ตัวหมึกและหมึกพิมพ ใหพิมพดวยคอมพิวเตอรใชแบบอักษร Angsana New หรือ Cordia New ถาเลือกใชแบบใดก็ใหใชแบบนั้นท้ังเลม 3. วิธีการพิมพ ขอความท่ีพิมพตองหางจากขอบบน 1.5 นิ้ว ขอบลาง 1 นิ้ว ขอบดานซาย 1.5 นิ้ว ขอบดานขวา 1 นิ้ว (ควรเผ่ือขอบไวสําหรับการตัดขอบเพ่ือเขาเลมดวย)

Page 14: คู่มือ - agri.rmutsb.ac.th · ส วนประกอบตอนต น ประกอบไปด วย ปกนอก ใบรองปก ใบรับรองป

13

4. การเวนบรรทัด การพิมพขอความปกติใหเวน 1 บรรทัดพิมพ (Double space) การพิมพระหวางหัวขอใหญกับหัวขอเล็ก หรือระหวางหัวขอกับขอความท่ีตามมา รวมท้ังการข้ึนยอหนาใหม ใหพิมพเวน 1.5 บรรทัดพิมพ (Triple space) 5. การใชหมายเลขหนา ใหพิมพตอนบนทางมุมขวาของหนากระดาษ โดยพิมพหางจากขอบบนและของดานขวาดานละ 1 นิ้ว ทุกหนาจะตองมีหมายเลขหนา โดยกลุมหนาสวนตน เร่ิมต้ังแตหนาคํานําไปจนจบสารบัญภาพ ใหใสหมายเลขไวในวงเล็บ เรียงตามลําดับ กลุมหนาเนื้อหา เร่ิมนับ 1 ตั้งแต บทนํา โดยไมปรากฏเลขหนาท่ี 1 ของ บทนําและ ภาคผนวก สวนหนาอ่ืนๆใสหนาทุกหนาตามลําดับ 6. การวางลําดับ หัวขอใหญ เชน คํานํา บทนํา การตรวจเอกสาร อุปกรณและวิธีการ ผลและวิจารณ สรุปและขอเสนอแนะ เอกสารอางอิงใหพิมพกลางหนากระดาษ ใชตัวพิมพหนาขนาด 18 หัวขอขาง ใหพิมพติดริมซายมือสุด เวนขอบกระดาษไว 1.5 นิ้ว ใชตัวพิมพหนาขนาด 16 หัวขอยอยระดับยอหนา ใหพิมพระดับยอหนา เวนจากขอบตัวอักษรขาง 0.8 นิ้ว ใชตัวพิมพหนาขนาด 16 7. การพิมพตาราง ใหพิมพคําวา ตารางท่ี..... ตามดวยหมายเลขประจําตาราง ดวยตัวพิมพหนา ไวริมดานซายสุดโดยใสไวดานบนตาราง ช่ือตารางใหพิมพตอจากหมายเลขตาราง โดยเวน 2 ตัวอักษร กรณีช่ือตารางยาวเกิน 1 บรรทัด ใหพิมพอักษรของบรรทัดท่ี 2 ตรงกับอักษรตัวแรกของชื่อตาราง ถาตารางยาวเกินกวา 1 หนากระดาษ ใหพิมพในหนาถัดไป โดยใชเลขตารางท่ีตารางเดิม และใสคําวา ตอ ในวงเล็บ เชน ตารางท่ี 1 (ตอ) โดยไมตองพิมพช่ือตารางซํ้าอีก ตารางท่ีพิมพตามแนวขวางของกระดาษ ใหพิมพหมายเลขและชื่อตารางไวดานสันปก การตีเสนตารางใหตีเสนเฉพาะเสนแนวนอนเทานั้น 8. การพิมพภาพ ภาพทุกชนิด รวมทั้งเสนกราฟ ใหถายหรือเขียนลงในกระดาษพิมพเลม โดยทําภาพใหชัดเจน ติดภาพไวกลางกระดาษ แลวพิมพคําวา ภาพท่ี..... ตามดวยหมายเลขภาพดวยตัวพิมพหนา โดยใสไวทางดานลางของภาพ ช่ือภาพใหพิมพตอจากหมายเลข โดยเวน 2 ตัวอักษร 9. การพิมพเอกสารอางอิงใหพิมพคําวา เอกสารอางอิง กลางหนากระดาษดวยตัวพิมพหนาไมขีดเสนใต แลวพิมพรายช่ือเอกสารอางอิงลงดานลาง เรียงลําดับ โดยไมตองมี

Page 15: คู่มือ - agri.rmutsb.ac.th · ส วนประกอบตอนต น ประกอบไปด วย ปกนอก ใบรองปก ใบรับรองป

14

9.1 เวน 1 ระยะการพิมพตามหลังเคร่ืองหมายจุลภาค (,) เคร่ืองหมายอัฒภาค (;) และเคร่ืองหมายจุดคู (:) 9.2 เวน 2 ระยะพิมพตามหลังเคร่ืองหมายมหัพภาค (.) ยกเวนหลังจุดอักษรยอเวน 1 ระยะพิมพ

Page 16: คู่มือ - agri.rmutsb.ac.th · ส วนประกอบตอนต น ประกอบไปด วย ปกนอก ใบรองปก ใบรับรองป

15

(ตัวอยางปกนอก)

ปญหาพิเศษ ขนาด 26 หนา

เรื่อง ขนาด 22 หนา

การเปรียบเทียบการเจริญเติบโต และอัตราการรอดตายของ ปลาคารพที่เลี้ยงดวยการใหอาหารในความถี่ที่แตกตางกัน

The Study Comparative of Feeding Levels on Growth and

Survival rate of Carp Cyprinus carpio ขนาด 20 หนา

โดย ขนาด 20 หนา

นางสาวพรทิพย เลื่อนแปน นายวันชัย หมั่นถนอม นายสมเดช คงศรีนวล ขนาด 18 หนา

นายสุธีร หมีดหรน

สาขาวิชาประมง คณะเทคโนโลยกีารเกษตรและอุตสาหกรรมเกษตร

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูม ิพ.ศ. 2551

ขนาด 22 หนา

Page 17: คู่มือ - agri.rmutsb.ac.th · ส วนประกอบตอนต น ประกอบไปด วย ปกนอก ใบรองปก ใบรับรองป

16

(ตัวอยางใบรับรองปญหาพิเศษ) ใบรับรองปญหาพิเศษ

คณะเทคโนโลยีการเกษตรและอุตสาหกรรมเกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ

วิทยาศาสตรบณัฑิต เร่ือง การเปรียบเทียบการเจริญพันธุและอัตราการเจริญเติบโตของปลาดุกอุยท่ีเล้ียงดวยอาหาร

สําเร็จรูปผสมสาหรายเกลียวทองในปริมาณตางๆกัน Gonado Somatic Index and Growth Rate of Walking Catfish (Claias macrocephalus)

Raised with Artificial Feed Mixed with Different Amount of Spirulina นามผูทําปญหาพิเศษ นายประจักษ บุญยงค นางสาวสุวิมล สุวรรณอาภรณ นางสาวอมรรัตน ดําต้ัง ไดพิจารณาเห็นชอบโดย

อาจารยท่ีปรึกษา..............................................................วันท่ี........เดือน.......................พ.ศ........... (................................................................) กรรมการ.........................................................................วันท่ี........เดือน.......................พ.ศ........... (................................................................) กรรมการ.........................................................................วันท่ี........เดือน.......................พ.ศ........... (................................................................) หัวหนางานปญหาพิเศษสาขาวิชา....................................วันท่ี........เดือน.......................พ.ศ........... (................................................................) หัวหนาสาขาวชิา.............................................................วันท่ี........เดือน.......................พ.ศ........... (................................................................)

Page 18: คู่มือ - agri.rmutsb.ac.th · ส วนประกอบตอนต น ประกอบไปด วย ปกนอก ใบรองปก ใบรับรองป

17

(ตัวอยางบทคัดยอ) ช่ือเร่ือง การเจริญเติบโตและอัตราการรอดตายของกุงขาวระยะโพสทลารวาท่ีอนุบาล ดวยอาหารตางชนิดกัน ช่ือนักศึกษา นางสาวพรรณภคนีย ตันสมบรูณ นางสาวศรุตา ใจมุง นายอติราช ไชยคํา อาจารยท่ีปรึกษา นายชาตรี วิระสิทธ์ิ สาขาวิชา ประมง ปการศึกษา 2546

บทคัดยอ

การศึกษาการเจริญเติบโตและอัตราการรอดตายของกุงขาวระยะโพสทลารวาท่ีอนุบาลดวยอาหารตางชนิดกัน โดยการทดลองอนุบาลลูกกุงขาวระยะโพสทลารวา 7 ถึง ระยะโพสทลารวา 21 อนุบาลดวยอาหารตางชนิดกัน มีวัตถุประสงคเพื่อทราบวาอาหารชนิดใดเหมาะตอการเจริญเติบโตและอัตราการรอดตายของลูกกุงขาว ทําการศึกษา ณ คณะวิชาประมง วิทยาเขตพระนครศรีอยุธยา หันตรา ระยะเวลาที่ทําการทดลอง 12 วัน โดยทําการศึกษาจัดแบง ส่ิงทดลองออกเปน 6 ส่ิงทดลอง 3 ซํ้า คือ ส่ิงทดลองท่ี 1 อนุบาลลูกกุงขาวดวยตัวออนอารทีเมีย ส่ิงทดลองท่ี 2 อนุบาลลูกกุงขาวดวยไรแดง ส่ิงทดลองท่ี 3 อนุบาลลูกกุงขาวดวยอารทีเมียตัวโต ส่ิงทดลองท่ี 4 อนุบาลลูกกุงขาวดวยอาหารสําเร็จรูป ส่ิงทดลองท่ี 5 อนุบาลลูกกุงขาวดวยตัวออนอารทีเมียรวมกับอาหารสําเร็จรูป และส่ิงทดลองท่ี 6 อนุบาลลูกกุงขาวดวยไรแดงรวมกับอาหารสําเร็จรูป ปลอยลูกกุงท่ีมีความหนาแนน 1 ตัวตอลิตร น้ําท่ีใชอนุบาลมีความเค็มท่ี 20 สวนในพันสวน (ppt.) การใหอาหารจะให 6 คร้ังตอวัน เม่ือส้ินสุดการทดลองผลปรากฎวา การเจริญเติบโตดานน้ําหนักแหงเฉล่ีย มีความแตกตางกันทางสถิติอยางมีนัยสําคัญยิ่ง (P < 0.01 ) โดยส่ิงทดลองท่ี5 ซ่ึงอนุบาลลูกกุงขาวดวยตัวออนอารทีเมียรวมกับอาหารสําเร็จรูปมีน้ําหนักแหงเฉล่ียมากท่ีสุด สวนความยาวเฉล่ียของลูกกุงขาวพบวา........

Page 19: คู่มือ - agri.rmutsb.ac.th · ส วนประกอบตอนต น ประกอบไปด วย ปกนอก ใบรองปก ใบรับรองป

18

(ตัวอยางสารบัญ) สารบัญ

เร่ือง หนา

สารบัญ (1) สารบัญตาราง (2) สารบัญภาพ (3) บทนํา 1 การตรวจเอกสาร 3 .................. .................. .................. .................. เอกสารอางอิง 25

Page 20: คู่มือ - agri.rmutsb.ac.th · ส วนประกอบตอนต น ประกอบไปด วย ปกนอก ใบรองปก ใบรับรองป

19

(ตัวอยางสารบัญตาราง) สารบัญตาราง

ตารางท่ี หนา

1 น้ําหนักเฉล่ียเปนกรัมของปลาคารพท่ีเล้ียงโดยการใหอาหารในระดับความถ่ีท่ีแตกตางกันตลอดการทดลอง 16 สัปดาห

10

2 น้ําหนักท่ีเพิ่มข้ึนเฉล่ียเปนกรัมของปลาคารพท่ีเล้ียงโดยการใหอาหารในระดับความถ่ีท่ีแตกตางกันตลอดการทดลอง 16 สัปดาห

12

ตารางผนวกท่ี

1 แสดงตนทุนค าอาหารตอการ เป ล่ียนอาหาร เปน เนื้ อปลา 1 กิโลกรัมของปลาคารพท่ีเล้ียงโดยการใหอาหารในระดับความถ่ีท่ีแตกตางกันตลอดการทดลอง 16 สัปดาห

22

Page 21: คู่มือ - agri.rmutsb.ac.th · ส วนประกอบตอนต น ประกอบไปด วย ปกนอก ใบรองปก ใบรับรองป

20

(ตัวอยางสารบัญภาพ) สารบัญภาพ

ภาพท่ี หนา

1 น้ําหนักแหงเฉล่ีย (กรัม) ของลูกกุงขาวท่ีอนุบาลดวยอาหารตางชนิดกัน

21

2 ความยาวเฉล่ีย (เซนติเมตร) ของลูกกุงขาวท่ีอนุบาลดวยอาหารตางชนิดกัน

21

3 อัตราการรอด (เปอรเซ็นต) ของลูกกุงขาวท่ีอนุบาลดวยอาหาร ตางชนิด

27

ภาพผนวกท่ี

1 แผนผังหนวยทดลอง 35 2 ขนาดของลูกกุงขาวระยะโพสทลารวาท่ี 7 36

Page 22: คู่มือ - agri.rmutsb.ac.th · ส วนประกอบตอนต น ประกอบไปด วย ปกนอก ใบรองปก ใบรับรองป

21

ขั้นตอนการทําวิชาปญหาพิเศษ

ในการทําปญหาพิเศษมีข้ันตอนในการดําเนินการดังตอไปนี้ 1. ประกาศหัวขอปญหา และช่ืออาจารย ท่ีจะควบคุมปญหาพิเศษ 1.1 นักศึกษาระดับปริญญาตรีภายในสัปดาหท่ี 10 ของภาคการศึกษาท่ี 1 นักศึกษาช้ันปท่ี 3 1.2 นักศึกษาระดับ ปวส. ภายในสัปดาหท่ี 10 ของภาคการศึกษาท่ี 2 นักศึกษาช้ันปท่ี 1 2. การยื่นเร่ืองขอทําปญหาพิเศษ 2.1 ระดับปริญญาตรีนักศึกษาช้ันปท่ี 3 ยื่นแบบขออนุมัติทําปญหาพิเศษจํานวน3 ฉบับ ภายในสัปดาหท่ี 15 ของภาคการศึกษาท่ี 1 โดยรับแบบฟอรมท่ีคณะ ฯ นักศึกษาทําการกรอกแบบฟอรม อาจารยท่ีปรึกษาปญหาพิเศษลงนาม และผานความเห็นชอบของหัวหนางานปญหาพิเศษสาขาวิชา และหัวหนาสาขาวิชา แบบฟอรมเม่ือไดรับการลงนามเรียบรอยใหเก็บฉบับท่ี 1 ไวท่ีหัวหนางานปญหาพิเศษสาขาวิชา ฉบับท่ี 2 เก็บไวท่ีอาจารยท่ีปรึกษาปญหาพิเศษ ฉบับท่ี 3 เก็บไวท่ีนักศึกษา (แบบฟอรมนี้นักศึกษาสามารถพิมพกรอกได) 2.2 ระดับ ปวส. นักศึกษาชั้นปท่ี 1 ยื่นแบบขออนุมัติทําปญหาพิเศษจํานวน 3 ฉบับภายในสัปดาหท่ี 15 ของภาคการศึกษาท่ี 2 ยื่น โดยรับแบบฟอรมท่ีคณะ ฯ นักศึกษาทําการกรอกแบบฟอรม อาจารยท่ีปรึกษาปญหาพิเศษลงนาม และผานความเห็นชอบของหัวหนางานปญหาพิเศษสาขาวิชา และหัวหนาสาขาวิชา แบบฟอรมเม่ือไดรับการลงนามเรียบรอยใหเก็บฉบับท่ี 1 ไวท่ีหัวหนางานปญหาพิเศษสาขาวิชา ฉบับท่ี 2 เก็บไวท่ีอาจารยท่ีปรึกษาปญหาพิเศษ ฉบับท่ี 3 เก็บไวท่ีนักศึกษา (แบบฟอรมนี้นักศึกษาสามารถพิมพกรอกได) 3. นักศึกษาดําเนินการทําปญหาพิเศษ 4. เม่ือนักศึกษาทําปญหาพิเศษเสร็จเรียบรอยแลวใหทํารายงานปญหาพิเศษฉบับรางตามแบบฟอรมจํานวน 3 ฉบับ 5. ยื่นใบคํารองขอสอบความรูปญหาพิเศษ 5.1 นักศึกษาระดับปริญญาตรียื่นใบคํารองขอสอบความรูปญหาพิเศษท่ีหัวหนางานปญหาพิเศษสาขาวิชา หัวหนางานปญหาพิเศษสาขาวิชาเสนอแตงต้ังกรรมการสอบปญหาพิเศษ 3 ทาน และลงนามอนุมัติโดยหัวหนาสาขาวิชา ภายในสัปดาหท่ี 14 ของภาคเรียนท่ี 2 ของนักศึกษาช้ันปท่ี 4 5.2 นักศึกษาระดับ ปวส. ไมตองดําเนินการในข้ันตอนนี้

Page 23: คู่มือ - agri.rmutsb.ac.th · ส วนประกอบตอนต น ประกอบไปด วย ปกนอก ใบรองปก ใบรับรองป

22

6. การสงรายงานปญหาพิเศษฉบับสมบูรณ 6.1 นักศึกษาระดับปริญญาตรีสงรายงานปญหาพิเศษฉบับสมบูรณจํานวน 3 เลม ภายในสัปดาหท่ี 16 ของภาคเรียนท่ี 2 ของนักศึกษาช้ันปท่ี 4 6.2 นักศึกษาระดับ ปวส. สงรายงานปญหาพิเศษฉบับสมบูรณจํานวน 3 เลม ภายในสัปดาหท่ี 16 ของภาคเรียนท่ี 2 ของนักศึกษาช้ันปท่ี 2 7. การเปล่ียนแปลงโครงการขออนุมัติปญหาพิเศษ จะตองดําเนินการกอนเวลาท่ีกําหนดทําปญหาพิเศษ โดยยื่นคํารองท่ัวไป พรอมแจงเหตุผลท่ีไดรับความเห็นชอบจากอาจารยท่ีปรึกษา

Page 24: คู่มือ - agri.rmutsb.ac.th · ส วนประกอบตอนต น ประกอบไปด วย ปกนอก ใบรองปก ใบรับรองป

23

การเขียนแบบขออนมุัติทําปญหาพิเศษ

การเขียนใบขออนุมัติทําปญหาพิเศษมีข้ันตอนในการดําเนินการดังนี้ 1. ช่ือเร่ือง คือ สวนท่ีบอกหัวขอการทดลองหรือ ปญหาวาเราจะทําการศึกษาวิจัยเร่ืองอะไร การเขียนตองคํานึงถึงส่ิงตอไปนี้ 1.1 กะทัดรัด ชัดเจน และนาสนใจ 1.2 ส่ือความหมายใหเขาใจงาย ครอบคลุมท้ังเนื้อหาสาระท่ีทําการศึกษา 1.3 มีความสัมพันธหรือสอดคลองกับหลักการและเหตุผล 1.4 ขึ้นดวยคํานาม มีหลายลักษณะ เชน ผล การเปรียบเทียบ อิทธิพล 2. ช่ือนักศึกษาดําเนินการ ระบุช่ือนักศึกษาพรอมคณะทํางาน ช้ันป สาขาวิชา 3. หลักการและเหตุผล เปนสวนท่ีบอกถึงท่ีมาของปญหาของเรื่องท่ีจะทําการศึกษาวามีความสําคัญอยางไร ถึงจะตองทําการทดลองในเร่ืองนี้ ในสวนนี้ จะมีเนื้อหาของการตรวจเอกสารบางสวนท่ีสําคัญ เพ่ือเปนการช้ีใหเห็นถึงหลักการและเหตุผล ท่ีตองทําเร่ืองนี้ 4. วัตถุประสงค คือ สวนท่ีบอกเปาหมาย หรือความตองการของงานทดลองวา “ตองการทําอะไร” โดยมีหลักการเขียนดังนี้ 4.1 เขียนชัดเจน อานแลวเขาใจวาตองการทําอะไร 4.2 เขียนใหมีความสัมพันธหรือสอดคลองกับประเด็นปญหาท่ีทําการศึกษา 4.3 เขียนลําดับตามความสําคัญหรือตามข้ันตอนท่ีจะดําเนินการทดลอง 4.4 เขียนแลวตองทําการศึกษาทดลองใหครบถวนทุกขอ 5. วิธีการดําเนินงาน เปนแบบแผนหรือขอกําหนดสําหรับการทดลอง จะตองบอกถึงยุทธวิธี หรือแนวทางเพื่อท่ีจะศึกษา คนควา ใหเปนไปตามวัตถุประสงคท่ีตั้งไว ดังนั้นการเขียนตองใหมีความสัมพันธหรือสอดคลองกับวัตถุประสงค และตองระบุรายละเอียด ดังตอไปนี้ 5.1 แผนการทดลอง ตองวางแผนการทดลองวาจะเปนแบบใด ซ่ึงจะตองข้ึนกับส่ิงท่ีเราจะทดลอง ใหสอดคลองกับวัตถุประสงคท่ีเราต้ังไว โดยคํานึงถึง สภาพแวดลอม หรือวัสดุอุปกรณ แผนนั้น ๆ ตองสอดคลองกับหลักเกณฑทางสถิติ เชน ในสภาพแปลงปลูกท่ีมีสภาพพื้นท่ีตางกันระหวางบล็อกใช Randomized complete block design (RBCD) หรือทดลองในหองปฎิบัติการที่มีสภาพสมํ่าเสมอ ก็สามารถใช Completely randomized design (CRD) เปนตน ท้ังนี้ตองระบุวามีกี่ส่ิงทดลอง (Treatment) กี่ซํ้า (Replication)

Page 25: คู่มือ - agri.rmutsb.ac.th · ส วนประกอบตอนต น ประกอบไปด วย ปกนอก ใบรองปก ใบรับรองป

24

5.2 ข้ันตอนหรือวิธีการทดลอง ใหระบุ ถึงการดําเนินงานวาจะตองทําอะไรบางกอน หลัง ทําอยางไร ทําเมื่อใด ใหระบุไวในกิจกรรมขอ 8 5.3 การเก็บรวบรวมขอมูล หรือการบันทึกขอมูล ตองบอกวาในการทดลองนั้น มีการเก็บขอมูลอะไร อยางไร เชน 5.3.1 การชั่ง ช่ังผลผลิต ชั่งน้ําหนักทุกสัปดาห ฯลฯ 5.3.2 การวัด ใชไมบรรทัดวัดเสนผานศูนยกลาง ใชไมเมตรวัดสวนสูง 5.4 การวิเคราะหขอมูล คือ การนําขอมูลท่ีไดจากการศึกษาหรือการทดลองมาวิเคราะหโดยการวิเคราะหตองสัมพันธกับแผนการทดลองท่ีวางไวเพื่อสรุปผล เชน วิเคราะหความแปรปรวน (Analysis of variance) วาในส่ิงทดลองนั้น มีความแตกตางทางสถิติหรือไมถามีจะเปรียบเทียบคาเฉล่ียในแตละส่ิงทดลองโดยวิธีใด เชน ใช Least significant difference (LSD) หรือ Duncan, s New multiple range test (DMRT) หรือ ศึกษาหาความสัมพันธโดยใชสหสัมพันธ (Correlation) หรือ ศึกษาหารูปแบบของความสัมพันธโดยใช รีเกรสช่ัน (Regression) หรือ วิธีการทางสถิติอ่ืน ๆ ท่ีเหมาะสม คําแนะนําสําหรับนักศึกษา การวางแผนการทดลอง เปนส่ิงจําเปนท่ีจะตองศึกษากอนการทดลอง เพราะฉะนั้น นักศึกษาควรมีความรูและทําความเขาใจทางสถิติเสียกอน กอนท่ีจะลงมือปฏิบัติการทดลอง มิฉะนั้นผลการทดลองของนักศึกษาท่ีไดรับจะขาดน้ําหนักในการสรุปผล หรืออาจทําใหการสรุปผลผิดพลาดได หากนักศึกษาวางแผนการทดลองท่ีไมเหมาะสมหรือไมถูกตอง 6. สถานท่ีปฏิบัติงาน ใหบอกสถานท่ีท่ีจะทําการทดลองหรือเก็บขอมูล เชน หองปฏิบัติการ แปลงทดลอง 7. ผลท่ีคาดวาจะไดรับ ประโยชนท่ีจะไดรับจากโครงการ หรือสมมติฐานใหระบุประโยชนของงานทดลองท่ีจะไดในดานตาง ๆ เชน องคความรู ทฤษฎี ท่ีใชในการแกปญหา การปฏิบัติ 8. กิจกรรม ใหเสนอกิจกรรมท่ีตองปฏิบัติตลอดโครงการ พรอมท้ังชวงเวลาท่ีจะปฏิบัติในแตละกิจกรรม ท้ังนี้ตองคํานึงถึงความเปนไปได และความเหมาะสม การเขียนตองใหสอดคลองกับวิธีการดําเนินงานและระยะเวลาในการทํากิจกรรมนั้น การเขียนโครงการจะสมบูรณถูกตองไดเม่ือนักศึกษารูปญหาที่นักศึกษาจะนํามาศึกษาทดลองวามีอะไร นักศึกษาตองศึกษาคนควา ตองอานเอกสารท่ีเกี่ยวของ เพื่อหาแนวทางการดําเนินการวิจัย ซ่ึงอาจเปนการเลียนแบบวิธีการทดลองของผูอ่ืน หรืออาจดัดแปลง หรือคิดคนวิธีข้ึนมาใหม การเขียนโครงการทุกหัวขอตองชัดเจน กะทัดรัด และสละสลวย

Page 26: คู่มือ - agri.rmutsb.ac.th · ส วนประกอบตอนต น ประกอบไปด วย ปกนอก ใบรองปก ใบรับรองป

25

แบบขออนุมติัทําปญหาพิเศษ � ระดับ ปวส. � ระดับปริญญาตรี

คณะเทคโนโลยีการเกษตรและอุตสาหกรรมเกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ

1. ช่ือเร่ือง .................................................................................................................................................. 2. ช่ือนักศึกษาดําเนินการ 2.1 ...............................................................................ช้ันปท่ี........สาขาวิชา........................... 2.2 ...............................................................................ช้ันปท่ี........สาขาวิชา........................... 2.3 ...............................................................................ช้ันปท่ี........สาขาวิชา........................... 3. หลักการและเหตุผล ................................................................................................................................................. ....................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................... 4. วัตถุประสงค ................................................................................................................................................. ....................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................... 5. วิธีการดําเนินงาน ................................................................................................................................................. ....................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................... 6. สถานท่ีปฏิบัติงาน ................................................................................................................................................. ....................................................................................................................................................... ....................................................................................................................................................... 7. ผลท่ีคาดวาจะไดรับ/ประโยชนท่ีจะไดรับจากโครงการ หรือ สมมติฐาน ................................................................................................................................................. ....................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................

Page 27: คู่มือ - agri.rmutsb.ac.th · ส วนประกอบตอนต น ประกอบไปด วย ปกนอก ใบรองปก ใบรับรองป

26

8. กิจกรรม/ระยะเวลาดําเนนิงาน (เดือน - ป)

พ.ศ.................... - พ.ศ....................... กิจกรรม

9. เอกสารอางอิง (อยางนอย 3 ฉบับ) ................................................................................................................................................. ....................................................................................................................................................... .......................................................................................................................................................

ลงช่ือ........................................................นักศึกษา (..............................................................................)

............../.............../...................

เห็นสมควรใหดําเนินการได ลงช่ือ........................................................อาจารยท่ีปรึกษาปญหาพิเศษ (.....................................................) ลงช่ือ........................................................หัวหนางานปญหาพิเศษสาขาวิชา…….. (.....................................................) ลงช่ือ........................................................หัวหนาสาขาวิชา....................... (.....................................................)

Page 28: คู่มือ - agri.rmutsb.ac.th · ส วนประกอบตอนต น ประกอบไปด วย ปกนอก ใบรองปก ใบรับรองป

27

ใบคํารองขอสอบความรูปญหาพิเศษ ระดบัปริญญาตรี คณะเทคโนโลยีการเกษตรและอุตสาหกรรมเกษตร

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ

วันท่ี........เดือน.....................พ.ศ..................

เร่ือง ขอสอบความรูปญหาพิเศษ

เรียน หวัหนาสาขาวิชา.....................

ขาพเจา (นาย/นาง/นางสาว)................................นามสกุล...................................... พรอมดวยคณะทําปญหาพิเศษ คือ ................................................................................................. ........................................................................................................................................................ นักศึกษาระดับปริญญาตรี สาขาวิชา........................................................ช้ันปท่ี........................... มีความประสงคขอสอบความรูปญหาพิเศษและไดสงรูปเลมปญหาพิเศษมาประกอบการพิจารณา จํานวน 3 เลม เร่ือง (ภาษาไทย).................................................................................................... .......................................................................................................................................................

เร่ือง (ภาษาอังกฤษ)................................................................................................ ...................................................................................................................................................... จึงเรียนมาเพื่อโปรดพิจารณา และแตงต้ังคณะกรรมการสอบ ลงช่ือ.............................................................. (.....................................................................)

1. ความเห็นของอาจารยที่ปรึกษาปญหาพิเศษ 3. เสนอแตงต้ังคณะกรรมการสอบความรูปญหาพิเศษ .......................................................................... 1..............................................................ประธานกรรมการ ……………………………………………….. 2………………………………………..กรรมการ .......................................................................... 3..............................................................กรรมการ ลงชื่อ............................................................. สอบวันที่...........เดือน....................พ.ศ.................. (...........................................................) หอง................................เวลา................................ 2. ความเห็นของหัวหนางานปญหาพิเศษสาขาวิชา 4. ความเห็นของหัวหนาสาขาวิชา ........................................................................ ......................................................................................... ........................................................................ …..................................................................................... ลงชื่อ....................................................... ลงชื่อ............................................................................... (.........................................................) (..................................................................)

Page 29: คู่มือ - agri.rmutsb.ac.th · ส วนประกอบตอนต น ประกอบไปด วย ปกนอก ใบรองปก ใบรับรองป

28

ใบคะแนนการสอบความรูปญหาพิเศษ ระดับปริญญาตรี คณะเทคโนโลยีการเกษตรและอุตสาหกรรมเกษตร

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ

เร่ือง................................................................................................................................... ................................................................................................................................... ................................................................................................................................... ประจําภาคเรียนท่ี.............................................ปการศึกษา..............................................

สาขาวิชา...............................................................จํานวนนักศึกษาท่ีทําปญหาพิเศษ................คน ลําดับท่ี

ช่ือ - สกุล

การนําเสนอเนื้อเร่ือง

10

ความรอบรู 20

รวม 30

1 2 3 4 5

ผลการสอบ คณะกรรมการมีมติดังนี ้� ผานและแกไขตามคําแนะนํา � ไมผานและใหสอบใหม ในวนัท่ี...........เวลา...................หอง..................... � ใหทําใหม .…………………………………………………………………………………………… .…………………………………………………………………………………………… .…………………………………………………………………………………………… (............................................................) ประธาน/กรรมการสอบปญหาพิเศษ

ใหไว เม่ือวนัท่ี.........................................

Page 30: คู่มือ - agri.rmutsb.ac.th · ส วนประกอบตอนต น ประกอบไปด วย ปกนอก ใบรองปก ใบรับรองป

29

ใบรายงานคะแนนวิชาปญหาพิเศษ ระดับปริญญาตรี คณะเทคโนโลยีการเกษตรและอุตสาหกรรมเกษตร

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ

เร่ือง................................................................................................................................... ................................................................................................................................... ................................................................................................................................... ประจําภาคเรียนท่ี.............................................ปการศึกษา..............................................

สาขาวิชา...............................................................จํานวนนักศึกษาท่ีทําปญหาพิเศษ................คน

อาจารยที่ปรึกษา 70 คะแนน

หัวหนางาน ปญหาพิเศษ 30 คะแนน

ลําดับที่

ความต้ังใจในการทํางาน

10

การดําเนินการ

ทดลอง 20

ความรวมมือในการทํางาน

10

การสอบความรูปญหาพิเศษ

30

ความตรงตอเวลา 10

การจัดทํารูปเลม

20

รวม 100

1 2 3 4 5

............................................................. ............................................................. (..........................................................) (..........................................................) อาจารยท่ีปรึกษาปญหาพิเศษ หัวหนางานปญหาพิเศษ หมายเหตุ 80 – 100 = A 75 – 79 = B+ 70 – 74 = B 65 – 69 = C+ 60 – 64 = C 55 – 59 = D+ 50 – 54 = D ตํ่ากวา 50 = F ใหอาจารยที่ปรึกษาใหคะแนน และรวบรวมคะแนนจากการสอบปญหาพิเศษ สรุปและสงหัวหนางานปญหาพิเศษสาขาวิชา

Page 31: คู่มือ - agri.rmutsb.ac.th · ส วนประกอบตอนต น ประกอบไปด วย ปกนอก ใบรองปก ใบรับรองป

30

ใบรายงานคะแนนวิชาปญหาพิเศษ ระดับ ปวส. คณะเทคโนโลยีการเกษตรและอุตสาหกรรมเกษตร

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ

เร่ือง................................................................................................................................... ................................................................................................................................... ประจําภาคเรียนท่ี.............................................ปการศึกษา..............................................

สาขาวิชา..............................................................จํานวนนกัศึกษาท่ีทําปญหาพิเศษ................คน

อาจารยที่ปรึกษา 70 คะแนน

หัวหนางาน ปญหาพิเศษ 30 คะแนน

ลําดับ ท่ี

ช่ือ - สกุล

ความต้ังใจ ในการทํางาน

10

การดําเนินการ

ทดลอง 50

ความรวมมือในการทํางานเปนกลุม 10

ความตรงเวลาในการสงโครงราง และ รูปเลม

10

ทักษะในการจัดทํารูปเลม

20

รวม 100

เกรด

1

2

3

4

5

............................................................. ............................................................. (..........................................................) (..........................................................) อาจารยท่ีปรึกษาปญหาพิเศษ หัวหนางานปญหาพิเศษ หมายเหตุ 80 – 100 = A 75 – 79 = B+ 70 – 74 = B 65 – 69 = C+ 60 – 64 = C 55 – 59 = D+ 50 – 54 = D ตํ่ากวา 50 = F ใหอาจารยที่ปรึกษาใหคะแนน และรวบรวมคะแนนจากการสอบปญหาพิเศษ สรุปและสงหัวหนางานปญหาพิเศษสาขาวิชา

Page 32: คู่มือ - agri.rmutsb.ac.th · ส วนประกอบตอนต น ประกอบไปด วย ปกนอก ใบรองปก ใบรับรองป

31

เอกสารอางอิง ทัศนีย แกวสวาง. 2545. คูมือปญหาพิเศษนักศึกษาปริญญาตรี สาขาบริหารธุรกิจเกษตร วิทยาเขตพระนครศรีอยุธยา หันตรา, สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล. 11 น. นงพร กิจบํารุง. 2543. กฏหมายอนุรักษและคุมครองแมลง. วารสารกีฏและสัตววทิยา. 22(2) : 75-191. จําลอง โตออน. 2546. โครงสรางประชากรสัตวทะเลหนาดนิบริเวณอาวศรีราชา จังหวดัชลบุรี. วารสารวิจัยวทิยาศาสตร (Section T). 2(3) : 143-372. บรรเจิด คติการ. 2527. คูมือวิทยานพินธ สายวิทยาศาสตร. บัณฑิตวทิยาลัย มหาวทิยาลัย เกษตรศาสตร, กรุงเทพฯ. 66 น. สมพร เกาะปนะและศรีสมร ชูดวง. 2540. เอกสารคําแนะนํารายงานวิจยั สถาบันเทคโนโลย ี ราชมงคล. สถาบันวิจยัและพัฒนา สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล, กรุงเทพฯ. 24 น. อํานาจ ศิลวัตร. 2535. คูมือการเขียนปญหาพิเศษ. ฝายบัณฑิตศึกษา วิทยาเขตพระนครศรีอยุธยา หันตรา สถาบันเทคโนโลยรีาชมงคล. 73 น.

Page 33: คู่มือ - agri.rmutsb.ac.th · ส วนประกอบตอนต น ประกอบไปด วย ปกนอก ใบรองปก ใบรับรองป

32

รายชื่อคณะกรรมการจัดทําคูมือปญหาพิเศษ ลําดับท่ี ช่ือ – นามสกุล สาขาวิชา

1 ผูชวยศาสตราจารยฐิติมา จิโนวัฒน ประธาน 2 นายเรวัติ พูลสุข เกษตรกลวิธาน 3 นายสุรเชษฐ บํารุงคีรี เกษตรกลวิธาน 4 ผูชวยศาสตราจารย ดร.สุภาวดี โกยดุลย ประมง 5 นายจําลอง โตออน ประมง 6 ผูชวยศาสตราจารย ดร.รววีรรณ เดื่อมขันมณ ี พืชศาสตร 7 ผูชวยศาสตราจารยระวีวรรณ สุวรรณศร พืชศาสตร 8 ดร.ธีระพัศธ ศิลปสมบูรณ พืชศาสตร 9 ผูชวยศาสตราจารยฉววีรรณ บุญเรือง พืชศาสตร 10 ผูชวยศาสตราจารยสุริยา แกวกอง สัตวศาสตร 11 นายชูศักดิ์ พูลมา สัตวศาสตร 12 นางวรรณา ขันธชัย อุตสาหกรรมเกษตร 13 นางสาววชิรญา เหลียวตระกูล อุตสาหกรรมเกษตร 14 ผูชวยศาสตราจารยอริศรา เกสสมบูรณ กรรมการและเลขานุการ