Agri present 102011

Post on 13-Apr-2017

362 views 4 download

Transcript of Agri present 102011

ขอปฏิบัติการเขาฝกอบรมผลิตภัณฑการเกษตร ไมอนุญาตใหนักธุรกิจจองที่นั่งใหกัน เนื่องจากบริษัทจัดที่นั่งให

อยางเพียงพอกับนักธุรกิจทุกทานแลว

ขอความรวมมืองดใชเคร่ืองมือสื่อสารทุกชนิด เพราะเปนการ

รบกวนนักธุรกิจทานอ่ืนๆ

ไมอนุญาตใหบันทึกภาพวีดีโอ บันทึกเสียง เนื่องจากการ

ฝกอบรมเปนลิขสิทธ์ิของบริษัท แอมเวย (ประเทศไทย) จํากัด

หากทานมีลูกหลานมาดวยขอความรวมมือฝากไวกับเจาหนาที่

ดานหนางาน หรือหากนําเขามาในหองประชุมขอความกรุณาอยาสง

เสียงดงัรบกวนผูอ่ืน

ขอบคุณท่ีใหความรวมมือคะ

ผลิตภัณฑเพ่ือการเกษตร เพ่ิมผลผลิต ใหกับเกษตรกรอยางคุมคา

พิชญสิณี ศิริเขตกรณ

ปริญญาตรี สาขาเทคโนโลยีการเกษตร-การผลิตพชื คณะครุศาสตรอุตสาหกรรม

สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง

ปริญญาโท การบริหารทรัพยากรปาไม คณะวนศาสตร

มหาวิทยาลยัเกษตรศาสตร วิทยาเขตบางเขน

ประกาศนียบัตรวิชาชพีชั้นสูง เกษตรกรรม คณะเกษตรศาสตรบางพระ

สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล วิทยาเขตอยธุยา หันตรา

สารเสริมประสิทธิภาพ แอ็ปซา-80

Adjuvant APSA-80X ไมใช ปุย

X ไมใช ยา

X ไมใช ฮอรโมนพืชแอดจูแวนท

สารเสริมประสิทธิภาพชนิดเขมขน

สวนประกอบ

สารออกฤทธ์ิ 80% ประกอบดวย

2. กรดไขมันอิสระ

สารประกอบอ่ืนๆ 20%

แอลกอฮอลล

**เปนสารลดแรงตึงผิวที่ไมมีประจุ (Non Ionic)**

1. อัลคิล อัลริล อัลคอกซีเลต

คุณสมบัติของสารเสริมประสิทธิภาพแอ็ปซา-80

1. เปนสารชวยแผกระจาย (spreader)

วิธีการทดสอบการแผกระจาย

วิธีการทดสอบการแผกระจาย

ประโยชนของการเปนสารชวยแผกระจาย (spreader)

ลดแรงตึงผิว

สารละลายที่ใชรวมจับติดอยูบนใบพืชไดนาน

ประหยัด

2. เปนสารกระตุน (Activator)

คุณสมบัติของสารเสริมประสิทธิภาพแอ็ปซา-80

วิธีการทดสอบการแทรกซึมสารเคมีเขาสูใบพืช

ในระยะเวลาที่เทากันในการเทน้ํา ลงแกว

ไมผสมแอ็ปซา-80 ผสมแอ็ปซา-80

เพ่ิมประสิทธิภาพของสารเคมี

ประโยชนของการเปนสารกระตุน (Activator)

3. เปนตัวกระทําอิมัลชั่น(Emulsifiers)

และชวยใหสารกําจัดศัตรูพืชกระจายตัวอยูในสารละลาย (Dispersants)

น้ําและน้ํามนัเมื่อไมไดผสมแอปซา-80

สวนท่ีละลายนํ้า(มขีั้ว)

สวนท่ีละลายในนํ้ามัน(ไมมีขั้ว)

น้ําและน้ํามันเมื่อผสมแอปซา-80

นํ้ามัน

นํ้า

คุณสมบัติของสารเสริมประสิทธิภาพแอ็ปซา-80

วิธีการทดสอบนํ้ากับสารเคมีชนิดนํ้ามันเปนเน้ือเดียวกัน

ไมผสมแอ็ปซา-80 ผสมแอ็ปซา-80

วิธีการทดสอบนํ้ากับสารเคมีประเภทผงเปนเน้ือเดียวกัน

ไมผสมแอ็ปซา-80 ผสมแอ็ปซา-80

ชวยในการกระจายตัวของสาร

ประหยัด ไมเกิดการตกตะกอน

ประโยชนของการเปนตัวกระทําอิมัลชั่น (Emulsifiers) และชวยให

สารกําจัดศัตรูพืชกระจายตัวอยูในสารละลาย (Dispersants)

4. เรงการแทรกซึมนํ้าลงสูดิน (Soil Penetration)

ไมผสมแอ็ปซา-80 ผสมแอ็ปซา-80

คุณสมบัติของสารเสริมประสิทธิภาพแอ็ปซา-80

ดินดูดซึมน้ําไดดี

เรงการแทรกซึมน้ํา

ประโยชนจากการเรงการแทรกซึมนํ้าลงสูดิน (Soil Penetration)

ทําใหใชทรัพยากรน้ําที่มีอยูอยางคุมคา

5. ไมมีฤทธิ์กัดกรอนโลหะ

ปกปอง

หัวฉีดพนสารเคมี

ถังฉีดพนสารเคมี

อุปกรณเคร่ืองใชที่เปนโลหะ

คุณสมบัติ ของสารเสริมประสิทธิภาพแอ็ปซา-80

ประโยชนจากการไมมีฤทธิ์กัดกรอนโลหะ

ปกปองอุปกรณฉีดพนที่เปนโลหะตางๆ

ปองกันการอุดตันของตะกอนตามหัวฉีด

ประหยัดเวลาในการดูแลรักษาอุปกรณทางการเกษตร

คุณสมบัติของสารเสริมประสิทธิภาพแอ็ปซา-80

6. สูตรเขมขน ใชในอัตราเพียง 2-8 ซีซี ตอน้ํา 20 ลิตร

ลดขนาดและปริมาณของบรรจุภัณฑ

ประหยัดปริมาณ

ประโยชนจากสูตรเขมขน

ประหยัดเงิน

สรุปคุณสมบัติของแอ็ปซา-80

1. เปนสารชวยแผกระจาย

3. เปนตัวกระทําอิมัลชั่น

2. เปนสารกระตุน

4. เรงการแทรกซึมน้ําลงสูดิน

5. ไมมีฤทธ์ิกัดกรอนโลหะ

6. สูตรเขมขน ชวยประหยัด

วิธีการผสมสารเสริมประสิทธิภาพ แอ็ปซา-80 กับสารเคมีตางๆ

น้ํา 3 ใน 4 สวน

แอ็ปซา-80

สารปองกันกําจัดศัตรูพืช

ผสมแอ็ปซาใหเขากับนํ้าเพื่อปรับสภาพนํ้ากอน

ผสมสารปองกันกาํจัดศัตรูพืชใหเขากับ

นํ้าและแอ็ปซาท่ีเตรียมไว

เตมินํ้าใหเต็มถังผสมสารปองกันกาํจัดศตัรูพืช

ใหเขากันกับนํ้าและแอ็ปซากอนนําไปฉีดพน

อัตราการใชสารเสริมประสิทธิภาพ แอ็ปซา-80 กับสารเคมีตางๆ

ชนิดของสารเคมีอัตราการใชแอ็ปซา-80

ซีซี ตอนํ้า 20 ลิตร

อัตราการใชแอ็ปซา-80

ซีซี ตอนํ้า 200 ลิตร

สารปองกันกําจัดแมลง

สารกําจัดวัชพืช

สารกําจัดโรคพืช

ปุยทางใบและฮอรโมน

2-8

5-40

2-8

2-8

20-80

50-400

20-80

20-80

ปุยเคมี

50 กิโลกรัม

เทคนิค : ควรมัดปากกระสอบปุยใหแนน กลิ้งกระสอบปุยใหเมด็ปุย

และแอ็ปซา-80 เขากัน หมักไว 8 -16 ช่ัวโมงจึงนําไปหวาน

ใชอัตรา 50-100 ซีซี

ผสมนํ้า 0.5-1.5 ลิตร

ในบัวรดนํ้า

วิธีใชแอ็ปซา-80เพ่ือเพ่ิมประสิทธิภาพปุยเคมีชนิดเม็ดสําหรับใสทางดิน

ผสมน้ําราดดินอัตราสวนต่ําสุด 60-180 ซีซี ตอน้ํา 20-60 ลิตร

วิธีใชแอ็ปซา-80 เพ่ือฟนฟูดินที่แข็งเปนกอนน้ําซึมผานยาก

พ้ืนที่ 90 ตารางเมตร ใชอัตรา 3 ซีซี ตอน้ําอยางนอย 2 ลิตร

วิธีใชแอ็ปซา-80เพ่ือควบคุมดินแหงในสนามกอลฟหรือสนามหญา

- ใชทําความสะอาดถังและระบบใชอัตรา 5-20 ซีซี ตอน้ํา 20 ลิตร

- ใชทําความสะอาดหัวฉดีใชอัตรา 30 ซีซี ตอน้ํา 5 ลิตรแชหัวฉีด

วิธีใชแอ็ปซา-80เพ่ือทําความสะอาดอุปกรณการเกษตร

ปุยธาตุอาหารรองและธาตุอาหารเสริม

นิวทริแพลนท เอจี

ปุยธาตุอาหารหลัก

นิวทริแพลนท เอ็นพีเคพลสั สูตร 4-18-18

ผลิตภัณฑกลุมนิวทริแพลนท

นิวทริแพลนท เอจี

ปุยเคมีธาตุอาหารรองธาตุอาหาร

เสริมในรูปคีเลตและสารประกอบ

เชิงซอนสําหรับพืชผลทาง

การเกษตรชนิดฉีดพนทางใบ

สูตรชีวภาพ

นิวทริแพลนท เอจี คืออะไร?

ธาตุอาหารรอง

ธาตุอาหารเสริม

กํามะถัน (S) 0.75%

- เหลก็(Fe) 0.32% - โมลิบดีนัม(Mo) 0.0005%

- โบรอน(B) 0.014% - ทองแดง(Cu) 0.025%

- แมงกานีส(Mn) 0.26% - สังกะสี (Zn) 0.53%

สารอาหารอินทรีย โปรตีน กรดอะมิโน

กรดอินทรีย คารโบไฮเดรต

สวนผสมหลักในนิวทริแพลนท เอจี

ธาตุอาหาร ความสาํคัญ

กํามะถัน(S)

โบรอน (B)

ทองแดง (Cu)

เหล็ก (Fe)

แมงกานีส (Mn)

โมลิบดนีัม (Mo)

สังกะสี (Zn)

เปนองคประกอบของกรดอะมิโน

ชวยในการออกดอกผสมเกสร

ชวยในการสังเคราะหคลอโรฟลล

ชวยในการสังเคราะหคลอโรฟลล

ชวยในการสังเคราะหแสง

ชวยใหพืชใชไนเตรตใหเปนประโยชนในการสังเคราะหโปรตีน

ชวยในการสังเคราะหออกซิน (ฮอรโมนพืช) คลอโรฟลล และแปง

ความสําคัญของธาตุอาหารในนิวทริแพลนท เอจี

*** ออกซิน (ฮอรโมนพืช) สงผลใหพืชแตกยอดออน

แตกรากกระตุนการเจริญเติบโตของลําตน ***

เชื้อจุลนิทรีย

สารอาหาร

ถังอาหารเพาะเชื้อจุลินทรีย

เพื่อการผลิตปุย

กระบวนการผลิตสารเชิงซอนทางชีวภาพ

“Biological Complexation Process หรือ BCP

กระบวนการผลิตนิวทริแพลนท เอจี

อบใหเชื้อเจริญเติบโตและเกิดสาร

เมแทบอไลท

กรดอะมิโน

คารโบไฮเดรต

กรดอินทรีย

โปรตีน

กระบวนการคีเลชั่น

ไอออนโลหะ

(จุลธาตุ)

สารเมแทบอไลท ในรูปของ

โปรตีน กรดอะมิโน กรดอินทรีย

คารโบไฮเดรต

ไอออนโลหะ

(จุลธาต)ุ

สารคีเลต

- เหล็ก(Fe)

- โมลิบดีนัม(Mo)

- ทองแดง(Cu)

- แมงกานีส(Mn)

- สังกะสี (Zn)

1. คีเลตอันเกดิจากการรวมตัว

กับกรดอะมิโน

2. คีเลตอันเกดิจากการรวมตัว

กับกรดอินทรีย

3. คีเลตอันเกดิจากการรวมตัว

กับคารโบไฮเดรต

เตมิธาตุอาหารอ่ืนผสมเขาดวยกัน ทําใหผลิตภัณฑมเีสถียรภาพในขั้นสุดทาย

กระบวนการผลิตนิวทริแพลนท เอจี

บรรจุลงภาชนะออกมาเปนผลิตภัณฑปุยนิวทริแพลนท เอจี

สังกะสี(ไอออนบวก)จับตัวกับฟอสเฟต

(ไอออนลบ) ทําใหเกดิการตกตะกอน

ฟอสเฟต

สังกะสี

ฟอสเฟต

สังกะสี

ตกตะกอน

ฟอสเฟตไมสามารถจับตัวกับสงักะสี(ไอออน

บวก)ไดเพราะมีคีเลตปกปองอยู

ฟอสเฟตคีเลต

สังกะสี

คีเลต

สังกะสี

ฟอสเฟต

ไมเกิดการตกตะกอน

คุณสมบัตทิี่ไดจากกระบวนการผลิตปุยคีเลต

ผิวใบพืช

ผิวใบพืช

ขนาดของคีเลตและสารประกอบเชิงซอนเล็กทําใหพชืดูดไปใชงานไดงายขึ้น

คุณสมบัตทิี่ไดจากกระบวนการผลิตปุยคีเลต

ผิวใบ ผิวใบ ผิวใบ ผิวใบ ผิวใบ

เนื้อเยื่อภายในใบ

คุณสมบัตทิี่ไดจากกระบวนการผลิตปุยคีเลต

เพิ่มประสิทธิภาพและคุณภาพผลผลิตใหสูงขึ้น

ชวยในการสังเคราะหแสงของพืช

คุณประโยชนของนิวทริแพลนท เอจี

ใหผลผลิตเร็วขึ้นเสริมการเจริญเติบโตของพืชเสริมการออกดอกออกผล

และชวยปองกันดอกและผลรวง

มีสวนประกอบที่สมดุลของธาตุอาหารรอง ธาตุอาหารเสริม

คุณประโยชนของนิวทริแพลนท เอจี

ฉีดพนงาย ไมตองซื้ออุปกรณเพิ่ม

บรรจุภัณฑเปดและเทตวงใชงาย

คุณประโยชนของนิวทริแพลนท เอจี

ผลิตภัณฑใหม!! นิวทริแพลนท เอ็นพีเค พลัส สูตร 4-18-18

(Nutriplant NPK+)

ปุยเคมีธาตุอาหารหลัก ฉีดพนทางใบ ซึ่งใหธาตุอาหารหลักครบถวน

ไนโตรเจน ฟอสฟอรัส และโพแทสเซยีม

นิวทริแพลนท เอ็นพีเค พลัส สูตร 4-18-18

ประกอบดวยธาตุอาหารหลักในปริมาณ ดงันี้

ไนโตรเจนทั้งหมด (N) 4%

ฟอสฟอรัสที่เปนประโยชน (P2O5) 18%

โพแทชที่ละลายน้ํา (K2O) 18%

สวนประกอบในปุยเคมีนิวทริแพลนท เอ็นพีเค พลัส

ธาตุอาหารหลักในนิวทริแพลนท เอ็นพีเค พลัส

ประกอบดวยไนโตรเจน (N) ฟอสฟอรัส (P) และโพแทสเซียม (K)

• ไนโตรเจน

• ฟอสฟอรัส

• โพแทสเซียม

อาการขาดไนโตรเจนของใบ

ขาวโพด (ขวา) ปรากฏท่ีใบ

แกหรือใบลาง

เปรียบเทียบกับใบปกตใิน

ตําแหนงเดียวกัน (ซาย)

อาการขาดไนโตรเจนของขาวโพด

อาการขาดฟอสฟอรัสของขาวโพด

อาการขาดธาตุ

ฟอสฟอรัสของขาวโพด

แสดงอาการท่ีใบแก

ลักษณะเดนคือมีสีมวง

เกือบท้ังแผนใบ ยกเวน

เสนกลางใบ

อาการขาดโพแทสเซียมของขาวโพด

ใบลางของขาวโพด

แสดงใบปกติ (ซาย)

ใบท่ีขาดไนโตรเจน (กลาง) และ

ใบท่ีขาดโพแทสเซียม (ขวา)

การหมกัการจับตัวเปน

สารประกอบเชิงซอนสารสกัดจากสาหราย

สารลิแกนดสารกระตุนทางชีวภาพ

ตัวกระตุน

การจับตัวโดยธรรมชาติ

สารคลายคีเลต

สารประกอบเชิงซอน

แรธาตุสารกระตุนการเจริญเติบโต

สารตานอนุมูลอิสระตัวกระตุนการยับยั้งการ

ทําลายของจุลินทรียสารตานอนุมูลอิสระ

เทคโนโลยีการผลิต นิวทริแพลนท เอ็นพีเค พลัส

• ผลิตภัณฑที่มีคุณภาพเหนือกวา

• ผลิตขึ้นจากกระบวนการผลิตหลายขัน้ตอนดวยเทคนิคชั้นสูง พรอมการ

ควบคุมคุณภาพตลอดกระบวนการ

• การรวมตัวอยางเหมาะสมของแรธาตุและสารประกอบอินทรีย ไดสารที่มี

ลักษณะโดดเดนและเปนสทิธิบัตรเฉพาะของไซโตไซม

นิวทริแพลนท เอ็นพีเค พลัส

17 ข้ันตอนการผลติ ควบคุมคุณภาพ 8 จุด

การผลิตและการควบคุมคุณภาพ

1. ลิแกนดธรรมชาติ (Natural Ligands)

2. ชวยตานอนุมูลอิสระ (Antioxidants) ในเซลลพืช

3. ชวยปองกันภัยจากภาวะออสโมซิสผิดปกติ (Osmorprotectants)

4. ชวยสงเสริมกระบวนการทางชีวภาพ (Biostimulants)

5. ชวยสงเสริมภูมิคุมกัน (Elicitors) ใหกับพืช

คุณสมบัติ 5 ประการในนิวทริแพลนท เอ็นพีเค พลัส

• ลิแกนดมีอยูมากมาย ซ่ึงชวยใหเกิดสารประกอบเชิงซอนท่ีเปนประโยชน

• ลิแกนดมีท้ังในธรรมชาติและสังเคราะหทางเคมี ซ่ึงลแิกนดในปุยนิวทริแพลนท เอ็นพีเค พลัส

เปนลิแกนดธรรมชาติ

• ลิแกนดในนิวทริแพลนท เอ็นพีเค พลสั มีนํ้าหนักโมเลกุลต่าํ (ขนาดเลก็) จึงเกิดปฏิกิริยา

รวดเร็วกวา

• ลิแกนดสามารถเขารวม และมีบทบาทกระตุนในกระบวนการทางชีวเคมตีางๆ ของพืช

แรธาตุ

กรดอะมิโน กรดคารบอกซิลิก ฯลฯ สารประกอบเชิงซอน

1. ลิแกนดธรรมชาติ (Natural Ligands)

เปรียบเทียบอัตราการดูด NPK ของใบพืชจากปุย 3 แบบ

ระยะเวลาท่ีใบพืชใชเพื่อการดูดปุยใหได 50%

ธาตุ

เกลืออนินทรีย

หรือออกไซด

ลิแกนดสังเคราะห

(เชน อีดีทีเอ, ลิกโนซัลโฟเนต)

สารเชิงซอนธรรมชาคิ

(ในนิวทริแพลนท

เอ็นพีเค พลัส)

ไนโตรเจน (ยูเรีย) 1 - 6 ชม. 1 - 6 ชม. < 12 นาที

ฟอสฟอรัส 15 วัน 7 - 11 วัน < 2 ชม.

โพแทสเซียม 4 วัน 2 วัน < 1 ชม.

XI Congreso Ecuatoriano de la Ciencia del Suelo 31 Oct. 2008.ใบพืชดูดธาตุ NPK ในรูปสารประกอบเชิงซอนไดเร็วกวารูปอื่นๆ

ชวยตานอนุมูลอิสระ ชวยปองกัน ภัยอันเกดิจาก ‘อนุมูลอิสระ’

เมื่อพืชมีความเครียด จะเกดิอนุมูลอิสระขึ้นในเซลล

แตสารตานอนุมูลอิสระใหอิเลก็ตรอนแกอนุมูลอิสระจนครบ

กลายเปนสารท่ีไมเปนพิษเปนภัยอีกตอไป

2. ชวยตานอนุมูลอิสระ (Antioxidants) ในเซลลพืช

อิเล็กตรอน

อนุมูลอิสระสารตานอนุมูลอิสระทําลายฤทธ์ิของอนุมูล

อิสระ

สารตานอนุมูลอิสระ

3. ชวยปองกันภัยจากภาวะออสโมซิสผิดปกติ

ชวยปองกันการสูญเสียน้ําออกไปจากเซลล ในระหวางที่

พืชขาดนํ้าจนเกิดความเครียดจากภาวะออสโมซิสผิดปกติ

สงเสริมกระบวนการทางชีวเคมตีางๆ ของพืช สงผลใหพืชเจริญเติบโต เร็วขึ้นและเพิ่มผลผลิต

4. ชวยสงเสริมกระบวนการทางชีวภาพ (Biostimulants)

5. ชวยสงเสริมภูมิคุมกัน

ชวยสงเสริมระบบการปองกันตามธรรมชาตขิองพืช

ตอความเครียดทางปจจยัทางสภาพแวดลอมซึ่งแบงออกเปน 2 ปจจัยไดแก

• ปจจยัที่มชีีวิต อันไดแก เชื้อโรค หนอน แมลง

• ปจจยัทางสภาพแวดลอมที่ไมมีชีวิต ไดแกน้ํา ดิน อากาศ ฯลฯ

เม่ือไรจึงควรใชนิวทริแพลนท เอ็นพีเค พลัส

• เมื่อสภาพดินหรือสภาพอากาศไมคอยเหมาะสม หรือแมแตเมื่อมีการใส

ปุยบาํรุงดินแลวกต็าม

• “อากาศรอนเกินไป แหงแลงเกินไป ช้ืนแฉะเกินไป ดนิเสื่อมสภาพ ดินเปนกรด

หรือเปนดางเกินไป ฯลฯ”

• ในชวงท่ีพืชมีการเจริญเติบโตอยางรวดเร็ว

• ในชวงซ่ึงพืชมีการพัฒนาท่ีสาํคัญ เชน มดีอก ตดิผล ผลเจริญเตบิโตจนสุกแก

ในระยะท่ีสําคัญเหลาน้ี พืชอาจมีภาวะขาดแคน ซ่ึงจะทําใหผลผลิตลดนอยลง

การใชเสริมในทุกระยะที่สําคัญเหลานีจ้ะใหผลดยีิ่งขึ้น

• อยูในรูปแบบนํ้า ใชฉีดพนทางใบ ละลายนํ้าได 100%

• ชวยแกไขอาการขาดธาตุอาหารหลกัในพืชไดอยางรวดเร็วและเห็นผลชัดเจน

• มีธาตุอาหารหลัก N P K ท่ีพืชตองการอยางครบถวน

• นอกจากมีธาตุอาหารหลกั N P K แลวใน นิวทริแพลนท เอ็นพีเค พลสั ยังประกอบไป

ดวยสารประกอบอินทรียหลายชนิด

• ธาตุอาหารหลกั N P K และสารอินทรียตางๆ ในผลติภัณฑปุยอยูในรูปสารประกอบ

เชิงซอนโมเลกุลเล็ก(คลายคีเลต)

• ธาตุอาหารหลกัและสารอินทรีย มีการเกาะตัวกันอยางเหมาะสม และมีความสามารถ

รวมตัวเขากับสารอ่ืนๆ ไดดี ไมเกดิการตกตะกอน

คุณสมบัติเดนของนิวทริแพลนท เอ็นพีเค พลัส สูตร 4-18-18

คุณประโยชนของปุยนิวทริแพลนท เอ็นพีเค พลัส

• ชวยเรงการออกดอก ออกผล ใหกับพืช จึงเพิม่ปริมาณและคุณภาพของผลผลิตใหสูงขึ้น

• ชวยใหพืชเจริญเตบิโตไดอยางสมบูรณสูงสดุ และไมทําลายสภาพดินและสิ่งแวดลอม

• ชวยใหพืชมีความทนทานตอสภาพแวดลอมอันเลวรายตางๆ ไดดียิ่งขึ้น

• ใหผลผลิตเร็วขึ้น เกษตรกรเกบ็เกี่ยวไดเร็วขึ้นชวยใหเกษตรกรยิ้มได

นิวทริแพลนท เอ็นพีเค พลัสสูตร 4-18-18

ผลที่ไดรับจากการใช

นิวทริแพลนท เอ็นพีเค พลัส เพ่ิมผลผลติขาวได 25%เม่ือเทียบกับแปลงท่ีไมไดบํารุง

แอมเวยฟลิปปนส

ใช 1 ลิตร/ไร เมื่อขาวอยูในระยะต้ังทอง ไมมีการใชเอ็นพีเคกับดิน

ผลผลิตขาวที่ไดรับนิวทริแพลนท เอ็นพเีค พลัส

แปลงควบคุม แปลงที่มีการบํารุง

ผลผล

ิต (ก

ก./6

.25ไ

ร)

นิวทริแพลนท เอจี

และ

นิวทริแพลนท เอ็นพีเค พลัส

• นิวทริแพลนท เอ็นพีเค พลัส เพิ่มผลผลิตได 8%

• นิวทริแพลนท เอจี เพิ่มผลผลิตได 13%

• ท้ังสองชนิดรวมกันเพิ่มผลผลิตได 20%

Coffee Guatemala 1999

กาแฟ

นิวทริแพลนท เอจี และนิวทริแพลนท เอ็นพีเค พลัส

ผลผลิ

ตเพิ่

มขึ้น

(%)

นิวทริแพลนท เอ็น

พีเค

นิวทริแพลนท

เอจี

ทั้งสองชนิด

• นิวทริแพลนท เอ็นพีเค พลัส เพิ่มผลผลิตได 6.3%

• นิวทริแพลนท เอจี เพิม่ผลผลิตได 9.8%

• เมื่อใชท้ังสองชนิดรวมกันเพิ่มผลผลิตได 22%

ผลผลิ

ต (ก

ก./ไ

ร)

แปลง

ควบคุม

นิวทริแพลนท เอ็น

พีเค

นิวทริแพลนท

เอจีทั้งสองชนิด

นิวทริแพลนท เอจี และนิวทริแพลนท เอ็นพีเค พลัส

ลูกพีช

แนะนําใชใหเกิดประโยชนสูงสุด

ใช 3 ผลิตภัณฑรวมกันเพื่อมอบประโยชนสูงสุดใหกับพชื

สรุปผลการทดลองอัตราการใช

Nutriplant NPK+โดย รศ.ดร. ยงยุทธ โอสถสภา

ที่ปรึกษาผลิตภัณฑเพ่ือการเกษตร

ชนิดพืชที่ทําการทดลอง

ขาว

ถั่วฝกยาว

คะนา

การทดลองผลติภัณฑในนาขาว

พันธุขาว: ปทุมธานี 1

สถานที่ทดลอง: แปลงทดลองของภาควิชาปฐพีวิทยา คณะเกษตร กําแพงแสน

มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร อําเภอกําแพงแสน จังหวัดนครปฐม

การเตรียมดินปลูก และการหวาน

แปลงทดลองขาวอายุ 40 วัน

อายุจากหวาน (วัน) ระยะการเจริญเติบโต กิจกรรม

010 ตนขาวเล็กๆ

20 เพิ่มความสูงและการแตกกอ จาก

เพิ่มชาๆ เปนเร็วขึน้ จนแขนงและ

ความสูงมากท่ีสุด

ใสปุยทางดินครั้งท่ี 1

3040 ฉีดพนปุยทางใบครั้งท่ี 1

5060 เริ่มมีดอกออน ใสปุยทางดินครั้งท่ี 2

70 ขาวตั้งทอง จนกระท่ังกาบใบธงอวน

กลม

ฉีดพนปุยทางใบครั้งท่ี 2

8090 ดอกขาวโผลพนใบธง

100 พัฒนาเมล็ดจากระยะน้ํานมจนแปง

ในเมล็ดแข็งและเต็มเมล็ด110120130 ขาวสุกแก เก็บเก่ียว

กําหนดการใสปุยและฉีดพนปุยทางใบในขาว

อัตราการทดลองใชปุย NUTRIPLANT NPK+

แปลง CONTROL ไมใชปุยทางใบแตใชปุยทางดินปกติ

NUTRIPLANT NPK+ อัตรา 20 มล./น้าํ 20 ลิตร

NUTRIPLANT NPK+ อัตรา 40 มล./น้าํ 20 ลิตร

NUTRIPLANT NPK+ NUTRIPLANT AG อัตรา 40 มล./น้ํา 20 ลิตร

NUTRIPLANT NPK+ อัตรา 80 มล./น้ํา 20 ลิตร

NUTRIPLANT NPK+ อัตรา 100 มล./น้าํ 20 ลิตร

NUTRIPLANT NPK+ อัตรา 150 มล./น้าํ 20 ลิตร

NUTRIPLANT NPK+ อัตรา 200 มล./น้าํ 20 ลิตร

การสุมในแปลงยอยเพื่อศึกษาองคประกอบของผลผลิต

การสีขาวเพื่อที่เก็บเก่ียวเพื่อหาปริมาณผลผลิต

ผลของการฉีดพนปุยทางใบอัตราตางๆ ตอผลผลิตขาว กก./ไร (น้ําหนักเมล็ดที่ความช้ืน 15%)

ปุยทางใบ น้ําหนกัเมล็ด (กก./ไร) น้ําหนกัเมล็ดเพ่ิมข้ึน (%)

ไมฉีดปุยทางใบ 757 -

NPK+ 20 มล./ลิตร 773 2.1

NPK+ 40 มล./ลิตร 821 8.5

NPK+ 40 มล./ลิตร + AG 40 มล./ลิตร 847 11.9

NPK+ 80 มล./ลิตร 849 12.1

NPK+ 100 มล./ลิตร 848 12.0

NPK+ 150 มล./ลิตร 844 11.5

NPK+ 200 มล./ลิตร 837 10.6

เฉลี่ย 822 -

ผลการทดลองวัดหาเปอรเซ็นตนํ้าหนักเมล็ดดีและนํ้าหนักเมล็ดตอรวง

ปุยทางใบ เปอรเซ็นตน้ําหนกัเมล็ดดี

น้ําหนกัเมล็ดดีตอรวง (กรัม/รวง)

ไมฉีดปุยทางใบ 93.6 1.63

NPK+ 20 มล./ลิตร 94.1 1.78

NPK+ 40 มล./ลิตร 97.0 1.85

NPK+ 40 มล./ลิตร + AG 40 มล./ลิตร 97.1 1.86

NPK+ 80 มล./ลิตร 96.0 1.88

NPK+ 100 มล./ลิตร 94.7 1.85

NPK+ 150 มล./ลิตร 94.6 1.83

NPK+ 200 มล./ลิตร 94.8 1.86

เฉลี่ย 95.2 1.82

สรุปผลการทดลองในขาว

การฉีดพนดวย Nutriplant NPK+ อัตรา 40 มล./น้ํา 20 ลิตร ตามท่ีบริษัทผูผลติ

แนะนําใหใชมีความเหมาะสมสําหรบัขาว

การใช Nutriplant NPK+ รวมกับ Nutriplant AG อัตรา 40 มล./น้ํา 20 ลิตร มี

แนวโนมท่ีจะใหผลผลิตเพิ่มขึน้

การทดลองผลติภัณฑในคะนา

พันธุคะนา: เจาคุณทิพย (บ.เจียไต) อายุเก็บเก่ียว 60 วัน

การปลูกคะนาโดยการหวานเมล็ดและคลุมดวยฟางขาว

แปลงทดลองคะนาอายุ 50 วัน

กําหนดการใสปุยและฉีดพนปุยทางใบในคะนา

อายุพืช (วัน) กิจกรรม หมายเหตุ

- เตรียมดิน -

0 ปลูก -

13 ใสปุยทางดินครั้งท่ี 1 สูตร 27-6-6

16 ฉีดพนปุยทางใบครั้งท่ี 1 -

30 ใสปุยทางดินครั้งท่ี 2 สูตร 27-6-6

30 ฉีดพนปุยทางใบครั้งท่ี 2 -

45 ฉีดพนปุยทางใบครั้งท่ี 3 -

50 ฉีดพนปุยทางใบครั้งท่ี 4 -

60 เก็บเก่ียว -

อัตราการทดลองใชปุย NUTRIPLANT NPK+

แปลง CONTROL ไมใชปุยทางใบแตใชปุยทางดินปกติ

NUTRIPLANT NPK+ อัตรา 20 มล./น้าํ 20 ลิตร

NUTRIPLANT NPK+ อัตรา 40 มล./น้าํ 20 ลิตร

NUTRIPLANT NPK+ NUTRIPLANT AG อัตรา 40 มล./น้ํา 20 ลิตร

NUTRIPLANT NPK+ อัตรา 80 มล./น้ํา 20 ลิตร

NUTRIPLANT NPK+ อัตรา 100 มล./น้าํ 20 ลิตร

NUTRIPLANT NPK+ อัตรา 150 มล./น้าํ 20 ลิตร

NUTRIPLANT NPK+ อัตรา 200 มล./น้าํ 20 ลิตร

การฉีดพนปุยในการทดลอง

การเกบ็เกี่ยวคะนาจากแตละแปลงทดลอง เม่ืออายุครบ 60 วัน

คะนาท่ีเก็บเกี่ยวไดจากแปลงทดลอง

ผลของการฉีดพนปุยทางใบอัตราตางๆ ตอผลผลิตคะนา กก./ไร (น้าํหนักสด)ปุยทางใบ นํ้าหนักสด

(กก./2.5ม2)

นํ้าหนักสด

(กก./ไร)

นํ้าหนักสดเพ่ิม

(%)

ไมฉีดปุยทางใบ 7.93 5075.2 -

NPK+ 20 มล./ลิตร 8.25 5280.0 4.0

NPK+ 40 มล./ลิตร 8.63 5523.2 8.8

NPK+ 40 + AG 40 มล./ลิตร 9.33 5971.2 17.6

NPK+ 80 มล./ลิตร 9.10 5824.0 14.7

NPK+ 100 มล./ลิตร 8.63 5523.2 8.8

NPK+ 150 มล./ลิตร 8.64 5529.2 8.9

NPK+ 200 มล./ลิตร 8.08 5171.2 1.9

เฉลี่ย 8.54 5510.4

สรุปผลการทดลองในคะนา

การฉีดพนดวย Nutriplant NPK+ รวมกับ Nutriplant AG อัตรา 40 มล./น้ํา 20 ลิตร ใหผลผลิตสูงสุด รองลงมาคือการใช Nutriplant NPK+ อัตรา 80 มล./น้ํา 20 ลิตร การฉีดพนปุยแบบนี้ใหผลผลิตสูงกวาการไมใชปุยทางใบ 17.6 และ 14.7%

การทดลองผลติภัณฑในถ่ัวฝกยาว

พันธุถั่วฝกยาว: เพชรนิล (บ.เจียไต) อายุ 30 วันเร่ิมมีชอดอก, อายุ 40 วัน ดอกบาน,

อายุ 48 วันเร่ิมเก็บฝกแรก ชวงเวลาเก็บฝกตอเน่ืองไดประมาณ 1 เดือน

การปลูกถั่วฝกยาวหลังจากถอนแยก

กําหนดการใสปุยและฉีดพนปุยทางใบในถ่ัวฝกยาว

อายุพืช (วัน) กิจกรรม หมายเหตุ

- เตรียมดิน -

0 ปลูก -

15 ใสปุยทางดินครั้งท่ี 1 สูตร 27-6-6

16 ฉีดพนปุยทางใบครั้งท่ี 1 -

30 ฉีดพนปุยทางใบครั้งท่ี 2 สูตร 27-6-6

30 ใสปุยทางดินครั้งท่ี 2 -

45 ฉีดพนปุยทางใบครั้งท่ี 3 -

50 ฉีดพนปุยทางใบครั้งท่ี 4 -

45-52 เริ่มเก็บเก่ียว -

การฉีดพนปุยทางใบเมื่อถั่วฝกยาวเริ่มติดฝก

การฉีดพนปุยทางใบเมื่อถั่วยังเล็ก

เปรียบเทียบการเจริญเติบโตของถั่วฝกยาวอัตราการฉีดพน 20 มล.และ 40 มล./นํ้า 20 ลิตร

อัตรา 20 มล. /นํ้า 20 ลิตร อัตรา 40 มล./นํ้า 20 ลิตร

ผลของการฉดีพนปุยทางใบอัตราตางๆ ตอผลผลติถั่วฝกยาว กก./แปลง (ในพื้นท่ี 36 ตารางเมตร)

ปุยทางใบ น้ําหนกัฝก (กก./แปลง) ที่เกบ็เกี่ยว 3 ชวง

คร้ังที่ 1-5 คร้ังที่ 6-10 คร้ังที่ 1-11

ไมฉีดปุยทางใบ 3.91 4.33 12.54

NPK+ 20 มล./ลิตร 4.38 5.33 14.74

NPK+ 40 มล./ลิตร 4.24 4.33 11.54

NPK+ 40 + AG 40 มล./ลิตร3.38 4.13 11.71

NPK+ 80 มล./ลิตร 2.95 3.96 10.51

NPK+ 100 มล./ลิตร 3.87 4.86 13.70

NPK+ 150 มล./ลิตร 3.14 3.89 10.50

NPK+ 200 มล./ลิตร 3.28 4.95 12.63

เฉลี่ย 3.64 4.47 12.23

ขอกําหนดตาม พ.ร.บ. เก่ียวกับการจําหนายปุย 2518

ตองขายปุย ณ สถานทีท่ี่ไดรับอนญุาตการขาย

เชน แอมเวย ช็อป

นธอ. สามารถซื้อนิวทริแพลนท เอจี และ

นิวทริแพลนท เอ็นพีเค พลัส เพื่อการใชเอง

โดย “ไม” สามารถนําไปเสนอขายตอ ยกเวน

นธอ.ที่มใีบอนญุาตจําหนายปุย

กรณีทําผิด มาตรา 57 แหง พ.ร.บ.ปุย จะไดรับ

โทษจําคุกไมเกิน 5 ป หรือปรับไมเกินสองแสน

บาทหรือทั้งจําทั้งปรับ

การขออนุญาตจําหนายปุยเคมี

ในกรุงเทพมหานคร ดําเนินการขอไดที่ ฝายปุยเคมี สํานักควบคุมพืชและวัสดุการเกษตร กรมวิชาการเกษตร ถนนพหลโยธนิ เขตจตุจักร กรุงเทพฯ โทร.02-579-5536-7

ผูขอตองมีใบทะเบยีนการคาหรือทะเบยีนพาณิชย

ใบอนุญาตออกใหจําหนายตามที่อยูที่ขอเทานั้น

คาธรรมเนียม 100 บาท ใชเวลาดําเนินการ 1 วัน ทําการ อายุใบอนุญาตมีอายุตามกําหนดไมเกิน 1 ป

การขออนุญาตจําหนายปุยเคมี

ในตางจังหวัดสามารถขออนุญาตจําหนายปุยเคมีไดที่สํานักวิจยัและพฒันาการเกษตร 8 เขต ไดแก เชียงใหม ชยันาท พษิณุโลก จันทบุรี ขอนแกนสุราษฏรธานี อุบลราชธานี สงขลา

ขอบคุณทุกทาน