บทที่1 - @@ Home - KKU Web Hosting · สัญญาในว ันที่ 1...

83
แนะนําโรงพยาบาลศรีนครินทร 1 ที่ตั้ง เลขที123 ถนนมิตรภาพ หมู 16 ตําบล ในเมือง อําเภอ เมือง จังหวัด ขอนแกน 40002 ประวัติความเปนมา โรงพยาบาลศรีนครินทร เปนโรงพยาบาลในสังกัดคณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน กอตั้งขึ้นเมื่อวันที23 มิถุนายน .. 2518 โดยมีวัตถุประสงคเพื่อการเรียนการสอนของนักศึกษาแพทย แพทย บุคลากรทางการแพทยทุกสาขา และใหบริการประชาชน เปดใหบริการครั้งแรกโดยใชอาคารโรงพยาบาลโรคเรื้อนเดิมบริเวณสีฐาน ซึ่งเปนอาคารไมชั้นเดียว เรียกวา "โรงพยาบาลฮัท" (Hut Hospital) ตอมาโรงพยาบาลศรีนครินทรไดกําเนิดขึ้นดวยความรวมมือระหวางรัฐบาลไทย และรัฐบาลนิวซีแลนดเพื่อใหประชาชนในภาคตะวันออกเฉียงเหนือซึ่งเปนภูมิภาคที่มีประชากรมากที่สุดของประเทศไทยไดรับ บริการจากสถานพยาบาลในระดับมหาวิทยาลัย และเพิ่มศักยภาพในการผลิตแพทยและบุคลากรดานสาธารณสุขทุกประเภท ใหมีความรู ความชํานาญ พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว ไดเสด็จพระราชดําเนินมาทรงวางศิลาฤกษ อาคารโรงพยาบาล ศรีนครินทร เมื่อวันที19 กุมภาพันธ .. 2519 และมีพระบรมราชโองการพระราชทานนามวา "โรงพยาบาลศรีนครินทร " ตาม พระนามของสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี การกอสรางอาคารตรวจรักษาและอาคารบริการของโรงพยาบาลไดแลวเสร็จ ในป .. 2525 จึงไดยายหนวยงานทั้งหมดมาที่โรงพยาบาล ศรีนครินทรในปจจุบัน พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวพรอมดวย สมเด็จพระนางเจาสิริกิติ์พระบรมราชินีนาถ เสด็จพระราชดําเนินมาทรงเปดโรงพยาบาลศรีนครินทร เมื่อวันที15 ธันวาคม .. 2526 ในวโรกาสที่สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนีมีพระชนมายุ 89 พรรษา ไดมีการกอสรางอาคารเพิ่มเติมเพื่อใชเปนตึก ผาตัดหลังใหมมีหองผาตัดเพิ่มขึ้นอีก 9 หอง เพื่อใหการบริการตรวจวินิจฉัยและรักษาพยาบาลแกประชาชนที่มารับการผาตัด ไดเพิ่มขึ้น ซึ่งพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวไดทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯ เสด็จมาทรงวางศิลาฤกษและทรงพระราชทานนาม วา "อาคาร 89 พรรษาสมเด็จยา" เมื่อวันที21 ธันวาคม ..2532 และทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯ ใหสมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ สยามกุฎราชกุมารเสด็จแทนพระองคมาทรงเปดอาคาร เมื่อวันที24 มกราคม .. 2537 แมวาทางโรงพยาบาลจะไดขยายสวนที่ตรวจผูปวยนอกของบริเวณอาคาร 89 พรรษาสมเด็จยา แลวก็ตาม แตก็ยัง ไมเพียงพอในการรองรับผูปวย รวมทั้งคณะแพทยศาสตรไดสนองนโยบายรัฐบาลในการผลิตแพทยเพิ่ม ทําใหเตียงผูปวย ของแตละภาควิชามีนอย ไมเพียงพอตอการศึกษาในชั้นคลินิกของนักศึกษาแพทย และยังขาดสถานที่สําหรับการวิจัยทางการ แพทย ดังนั้นทางคณะจึงเห็นสมควรจัดทําโครงการสราง อาคารสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนีอนุสรณ ขึ้นมา ซึ่ง อาคารนี้เปนอาคารสูง 19 ชั้น จะเพิ่มเตียงผูปวยในไดประมาณ 400 เตียง เริ่มดําเนินการเมื่อวันที23 กรกฎาคม ..2540 สิ้นสุด สัญญาในวันที1 ตุลาคม ..2542 แตเนื่องจากในชวงเกิดวิกฤตเศรษฐกิจ สงผลกระทบตอธุรกิจการกอสรางทั้งประเทศ ทําใหโครงการกอสราง อาคารสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนีจึงไดหยุดชะงักชั่วคราว .. 2548 คณะผูบริหารมหาวิทยาลัยขอนแกน และผูบริหารคณะแพทยศาสตร จึงไดวาจางบริษัทรายใหมเพื่อ ดําเนินการกอสรางตอจากงานที่คางไว ดวยงบประมาณในการกอสราง 454,150,000 บาท โดยไดเริ่มทําสัญญาการกอสรางเมื่อ 1 กุมภาพันธ .. 2548 และสิ้นสุดสัญญาวันที30 กรกฎาคม ..2549 รวมระยะเวลาดําเนินการใหแลวเสร็จภายใน 540 วัน 1 แนะนําโรงพยาบาลศรีนครินทร บทที

Transcript of บทที่1 - @@ Home - KKU Web Hosting · สัญญาในว ันที่ 1...

Page 1: บทที่1 - @@ Home - KKU Web Hosting · สัญญาในว ันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ.2542 แต เนื่องจากในช วงเกิดวิกฤตเศรษฐก

แนะนําโรงพยาบาลศรีนครินทร 1

ที่ตั้ง

เลขที่ 123 ถนนมิตรภาพ หมู 16 ตําบล ในเมือง อําเภอ เมือง จังหวัด ขอนแกน 40002

ประวัติความเปนมา

โรงพยาบาลศรีนครินทร เปนโรงพยาบาลในสังกัดคณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน กอตั้งขึ้นเม่ือวันท่ี 23

มิถุนายน พ.ศ. 2518 โดยมีวัตถุประสงคเพื่อการเรียนการสอนของนักศึกษาแพทย แพทย บุคลากรทางการแพทยทุกสาขา

และใหบรกิารประชาชน เปดใหบริการครัง้แรกโดยใชอาคารโรงพยาบาลโรคเร้ือนเดมิบรเิวณสฐีาน ซึง่เปนอาคารไมชัน้เดยีว

เรียกวา "โรงพยาบาลฮัท" (Hut Hospital) ตอมาโรงพยาบาลศรีนครินทรไดกําเนิดขึ้นดวยความรวมมือระหวางรัฐบาลไทย

และรัฐบาลนิวซแีลนดเพือ่ใหประชาชนในภาคตะวันออกเฉียงเหนือซึง่เปนภูมภิาคท่ีมปีระชากรมากท่ีสดุของประเทศไทยไดรบั

บริการจากสถานพยาบาลในระดับมหาวิทยาลัย และเพิ่มศักยภาพในการผลิตแพทยและบุคลากรดานสาธารณสุขทุกประเภท

ใหมีความรู ความชํานาญ พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว ไดเสด็จพระราชดําเนินมาทรงวางศิลาฤกษ ณ อาคารโรงพยาบาล

ศรนีครนิทร เมือ่วนัที ่19 กมุภาพันธ พ.ศ. 2519 และมพีระบรมราชโองการพระราชทานนามวา "โรงพยาบาลศรีนครนิทร" ตาม

พระนามของสมเด็จพระศรีนครนิทราบรมราชชนนี การกอสรางอาคารตรวจรักษาและอาคารบริการของโรงพยาบาลไดแลวเสรจ็

ในป พ.ศ. 2525 จึงไดยายหนวยงานทั้งหมดมาที่โรงพยาบาล ศรีนครินทรในปจจุบัน พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวพรอมดวย

สมเดจ็พระนางเจาสริกิติิพ์ระบรมราชนินีาถ เสดจ็พระราชดาํเนนิมาทรงเปดโรงพยาบาลศรนีครนิทร เมือ่วนัที ่15 ธนัวาคม พ.ศ.

2526 ในวโรกาสท่ีสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนีมพีระชนมาย ุ89 พรรษา ไดมกีารกอสรางอาคารเพ่ิมเตมิเพ่ือใชเปนตึก

ผาตัดหลังใหมมีหองผาตัดเพิ่มขึ้นอีก 9 หอง เพื่อใหการบริการตรวจวินิจฉัยและรักษาพยาบาลแกประชาชนท่ีมารับการผาตัด

ไดเพิ่มขึ้น ซึ่งพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวไดทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯ เสด็จมาทรงวางศิลาฤกษและทรงพระราชทานนาม

วา "อาคาร 89 พรรษาสมเด็จยา" เมือ่วนัที ่21 ธนัวาคม พ.ศ.2532 และทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯ ใหสมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ

สยามกุฎราชกุมารเสด็จแทนพระองคมาทรงเปดอาคาร เม่ือวันที่ 24 มกราคม พ.ศ. 2537

แมวาทางโรงพยาบาลจะไดขยายสวนที่ตรวจผูปวยนอกของบริเวณอาคาร 89 พรรษาสมเด็จยา แลวก็ตาม แตก็ยัง

ไมเพียงพอในการรองรับผูปวย รวมทั้งคณะแพทยศาสตรไดสนองนโยบายรัฐบาลในการผลิตแพทยเพิ่ม ทําใหเตียงผูปวย

ของแตละภาควิชามีนอย ไมเพียงพอตอการศึกษาในช้ันคลินิกของนักศึกษาแพทย และยังขาดสถานท่ีสําหรับการวิจัยทางการ

แพทย ดังนั้นทางคณะจึงเห็นสมควรจัดทําโครงการสราง อาคารสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนีอนุสรณ ขึ้นมา ซึ่ง

อาคารนีเ้ปนอาคารสูง 19 ชัน้ จะเพิม่เตยีงผูปวยในไดประมาณ 400 เตยีง เริม่ดาํเนนิการเมือ่วนัที ่23 กรกฎาคม พ.ศ.2540 สิน้สดุ

สัญญาในวันท่ี 1 ตุลาคม พ.ศ.2542 แตเนื่องจากในชวงเกิดวิกฤตเศรษฐกิจ สงผลกระทบตอธุรกิจการกอสรางท้ังประเทศ

ทําใหโครงการกอสราง อาคารสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนีจึงไดหยุดชะงักช่ัวคราว

ป พ.ศ. 2548 คณะผูบริหารมหาวิทยาลัยขอนแกน และผูบริหารคณะแพทยศาสตร จงึไดวาจางบริษัทรายใหมเพื่อ

ดาํเนนิการกอสรางตอจากงานทีค่างไว ดวยงบประมาณในการกอสราง 454,150,000 บาท โดยไดเริม่ทาํสญัญาการกอสรางเมือ่

1 กมุภาพันธ พ.ศ. 2548 และส้ินสดุสญัญาวันที ่30 กรกฎาคม พ.ศ.2549 รวมระยะเวลาดําเนินการใหแลวเสร็จภายใน 540 วนั

1แนะนําโรงพยาบาลศรีนครินทร

บทท่ี

Page 2: บทที่1 - @@ Home - KKU Web Hosting · สัญญาในว ันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ.2542 แต เนื่องจากในช วงเกิดวิกฤตเศรษฐก

2 แนะนําโรงพยาบาลศรีนครินทร

คณะแพทยศาสตร ไดดาํเนนิการขอพระราชทานนามอาคาร และไดรบัพระมหากรุณาธิคณุพระราชทานนามอาคารน้ีวา

"อาคาร สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี อนุสรณ" เมื่อวันท่ี 17 สิงหาคม พ.ศ.2542 และในป พ.ศ.2550 ซึ่งเปนปที่

พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวมีพระชนมายุ 80 พรรษา คณะแพทยศาสตร จึงไดกราบบังคมทูลเชิญ สมเด็จพระเทพรัตน

ราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี และทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯ เสด็จพระราชดําเนินมาทรงเปด " อาคารสมเด็จพระศรีนครินทรา

บรมราชชนนี อนุสรณ" โรงพยาบาลศรีนครินทร คณะแพทยศาสตร ในวันที่ 18 ธันวาคม พ.ศ.2550

วิสัยทัศน

โรงพยาบาลศรีนครินทร เปนโรงพยาบาลมหาวิทยาลัยช้ันนําระดับประเทศที่ไดมาตรฐานสากล

พันธกิจ

1. ใหบริการรักษาพยาบาลและสรางเสริมสุขภาพแบบองครวม ที่มีคุณภาพและไดมาตรฐานวิชาชีพ

2. สนับสนุนการเรียน การสอน การวิจัย และสรางองคความรูเพื่อความเปนเลิศทางวิชาการ

เปาประสงค

1. ใหบริการรักษาพยาบาลผูปวยที่มีคุณภาพ มีมาตรฐาน มีความปลอดภัย ผูรับบริการมีความพึงพอใจ

2. จัดใหมีศูนยบริการสุขภาพช้ันเลิศเพิ่มข้ึน

3. เปน รพ.สรางเสริมสุขภาพ

4. เปนแหลงฝกอบรมที่ไดมาตรฐานวิชาชีพในสาขาวิชาวิทยาศาสตรสุขภาพ

5. เปนแหลงขอมูลสนับสนุนการวิจัยทางคลินิก (clinical research)

เข็มมุง

1. พัฒนาระบบการบริหารจัดการยา

2. พัฒนาระบบบริหารและจัดการความเส่ียงใหครบวงจรอยางมีประสิทธิภาพ

3. พัฒนาระบบการบริการใหมีประสิทธิภาพโดยใชกระบวนการ lean management

4. พัฒนาระบบสารสนเทศ เพื่อใหตอบสนองตอการบริหาร และเพิ่มประสิทธิภาพในการบริการ

5. พัฒนาระบบการส่ือสารทั้งในและนอกองคกรใหมีประสิทธิภาพ

6. เพิ่มจํานวนศูนยบริการสุขภาพช้ันเลิศ อยางนอย 1 ศูนยตอป

7. พัฒนาระบบการบริการเพื่อการเปนโรงพยาบาลสรางเสริมสุขภาพ

8. จัดสิ่งแวดลอมและอุปกรณที่เอื้อตอการเรียน การสอน การวจิัย

9. ปรับโครงสรางและระบบบริหารจัดการใหมีประสิทธิภาพ

วัฒนธรรมองคกร

มุงมั่นพัฒนา สามัคคี มีคุณธรรม นําสังคม

คานิยมองคกร : SRI

S = Seniority : ใหเกียรติความอาวุโส

R = Responsibility : รับผิดชอบ ทุมเท จนสําเร็จ

I = Integrity : ซื่อสัตย ยึดหลักคุณธรรม

Page 3: บทที่1 - @@ Home - KKU Web Hosting · สัญญาในว ันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ.2542 แต เนื่องจากในช วงเกิดวิกฤตเศรษฐก

แนะนําโรงพยาบาลศรีนครินทร 3

คณะผูบริหารโรงพยาบาลศรีนครินทร

รศ.นพ. อภิชาติ จิระวุฒิพงศ

รอง ผอก.รพ.ฝายแผนและพัฒนาคุณภาพโรงพยาบาล

รศ.นพ. ชาญชัย พานทองวิริยะกุล

ผูอํานวยการโรงพยาบาลศรีนครินทร

รศ.นพ.สมศักด์ิ เทียมเกา

รอง ผอก.รพ.ฝายบริการผูปวยนอก

ผศ.นพ. เสริมศักดิ์ สุมานนท

รอง ผอก.รพ.ฝายบริการผูปวยในรศ.นพ. ชลธิป พงศสกุล

รอง ผอก.รพ.ฝายสารสนเทศรศ. ดร.สุรศักด์ิ วงศรัตนชีวิน

รอง ผอก.รพ.ฝายหองปฏิบัติการ

อ.นพ. ชัช สุมนานนท

รอง ผอก.รพ.ฝายบริหารความเสี่ยงรศ.ดร.พญ. เนสินี ไชยเอีย

รอง ผอก.รพ.ฝายสรางเสริมสุขภาพนางจินตนา บุญจันทร

รอง ผอก.รพ.ฝายบริการ

Page 4: บทที่1 - @@ Home - KKU Web Hosting · สัญญาในว ันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ.2542 แต เนื่องจากในช วงเกิดวิกฤตเศรษฐก

4 แนะนําโรงพยาบาลศรีนครินทร

นางสาวทวนทอง พัณธะโร

ผช.ผอก.ฝายคุณภาพนางสาวจงกล พลตรี

ผช.ผอก.ฝายความเส่ียงนางสาวเสาวลักษณ ริรัตนพงษ

ผช.ผอก.ฝายวัสดุการแพทย

อ.นพ.ชวกิจ ภูมิบุญชู

ผช.ผอก.ฝายบริหารทรัพยากรผศ.สนธยา สิมะโรจน

ผช.ผอก.ฝายกายภาพและส่ิงแวดลอม

อ.นพ.ธรรศ สงวนศักด์ิ

ผช.ผอก.ฝายบริหาร

รศ.นพ. อนัฆพงษ พันธุมณี

ผช.ผอก.ฝายเครื่องมือแพทย

Page 5: บทที่1 - @@ Home - KKU Web Hosting · สัญญาในว ันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ.2542 แต เนื่องจากในช วงเกิดวิกฤตเศรษฐก

แนะนําโรงพยาบาลศรีนครินทร 5

จํานวนเตียง

1. เตียงผูปวยใน

1.1 เตียงสามัญ 701 เตียง

1.1.1 เตียงรับผูปวยทั่วไป 658 เตียง

1.1.1 เตียงรับผูปวยหนัก 43 เตียง

1.2 เตียงพิเศษ 250 เตียง

1.3 เตียงทารกแรกคลอด (crib) 72 เตียง

รวม 1,023 เตียง

2. เตียงผูปวยนอก

2.1 เตียงรับผูปวยอุบัติเหตุฉุกเฉิน 17 เตียง

2.2 เตียงตรวจผูปวยนอก 331 เตียง

3. หองผาตัด 24 หอง

ที่มา : หนวยเวชสถิตโิรงพยาบาลศรีนครินทร 1 กรกฎาคม พ.ศ. 2554

Page 6: บทที่1 - @@ Home - KKU Web Hosting · สัญญาในว ันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ.2542 แต เนื่องจากในช วงเกิดวิกฤตเศรษฐก

ระบบรับและสงตอผูปวยโรงพยาบาลศรีนครินทร 7

การจัดระบบบริการสุขภาพในปจจุบัน มีความสําคัญและจําเปนที่จะตองใหประชาชนไดรับบริการที่ครอบคลุมและ

เหมาะสมมีคุณภาพ ทั้งนี้เพื่อใหประชาชนมีสุขภาพดี ดังนั้น การจัดระบบการสงตอผูปวยเม่ือเกินขีดความสามารถของสถาน

บริการแตละระดับจึงมีความจําเปนอยางมาก เน่ืองจากเปนการเชื่อมโยงการบริการของสถานพยาบาลตางระดับในการดูแล

ผูปวยที่มีคุณภาพ

จังหวัดขอนแกนมีการบริหารจัดการดานโครงสราง โดยแตงตั้งคณะกรรมการและอนุกรรมการพัฒนาระบบสงตอ

ระดับเขตขึ้นเพื่อสะดวกในการประสานงานในจังหวัดเดียวกันและการประสานงานภายในเขต 12

โรงพยาบาลศรีนครินทร คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน มีวิสัยทัศนใหการรักษาพยาบาลผูปวยระดับ

ตติยภูมิ และเปนศูนยรับสงตอผูปวยในภาคตะวันออกเฉียงเหนือที่มีมาตรฐานสากล โดยเฉพาะโรคท่ีเกินขีดความสามารถ

ของโรงพยาบาลทั่วไป เพื่อสนับสนุนนโยบายและสอดคลองกับการพัฒนาระบบสงตอของประเทศ ที่ตองการพัฒนา

ระบบสงตอผูปวยเพื่อการรักษาใหมีประสิทธิภาพ ซึ่งจะสงผลใหผูปวยไดรับการรักษาพยาบาลไดรวดเร็วและเหมาะสม

กับสภาวะการเจ็บปวยเพื่อลดอัตราตายที่สามารถปองกันได แกปญหาความลาชาในการสงตอผูปวย จึงไดจัดต้ังศูนย

รับสงตอผูปวย (referral center) ซึ่งจะแกปญหาในระบบการรับสงตอใหมีรูปแบบการดําเนินการที่ชัดเจน มีผูรับผิดชอบ

หลักและระบบการประสานงานท่ีมีประสิทธิภาพ

ระบบรับ-สงตอผูปวย โรงพยาบาลศรีนครินทร ใชระบบประสานงานผานศูนยประสานงานรับ-สงตอผูปวย ซึ่งมี 2 ศูนย คือ

1. ศูนยประสานงานการรับ-สงตอผูปวยอุบัติเหตุฉุกเฉิน

2. ศูนยประสานงานการรับ-สงตอผูปวยกรณีไมฉุกเฉิน

วัตถุประสงคของการจัดตั้งศูนยประสานงาน มีดังนี้

1. เพื่อพัฒนาระบบรับ-สงตอผูปวยใหมีประสิทธิภาพ

2. เพื่อใหมีการประสานงานระหวางโรงพยาบาลตางๆ กับโรงพยาบาลศรีนครินทรกอนรับและสงตอผูปวย

3. เพื่อสงตอผูปวยใหมีความคลองตัว สะดวกและรวดเร็ว

4. เพื่อใหทีมผูรวมดูแลเตรียมพรอมในการรักษาพยาบาลอยางตอเน่ือง

5. เพื่อใหคําปรึกษาเบื้องตนในการดูแลผูปวยแกโรงพยาบาลเครือขาย

2ระบบรับและสงตอ

ผูปวยโรงพยาบาลศรีนครินทร

บทท่ี

Page 7: บทที่1 - @@ Home - KKU Web Hosting · สัญญาในว ันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ.2542 แต เนื่องจากในช วงเกิดวิกฤตเศรษฐก

8 ระบบรับและสงตอผูปวยโรงพยาบาลศรีนครินทร

1. ศูนยประสานงานการรับ-สงตอผูปวยอุบัติเหตุฉุกเฉิน (Accidental and Emergency referral center)

ขอบเขต ใหบริการประสานงานรับ-สงตอผูปวยอุบัติเหตุและฉุกเฉินจากโรงพยาบาลตางๆ ท่ัวประเทศกับโรงพยาบาลศรีนครินทร

ตัวชี้วัด

- มีพยาบาลวิชาชีพอยูประจําศูนยเพื่อทําหนาที่ประสานงานการรับสงตอ

- มีคูมือ/แนวทางปฏิบัติการสงผูปวยมารับการรักษาตอโรงพยาบาลศรีนครินทร

- รอยละการประสานงานการสงตอผูปวยภาวะวิกฤตสําเร็จภายใน 30 นาที

- รอยละผูปวยที่ประสานการสงตอเปนผลสําเร็จ

- รอยละการปฏิเสธการสงตอ

ขั้นตอนการปฏิบัติงานการรับ-สงตอผูปวยในกรณีภาวะฉุกเฉิน

1. แพทยจากโรงพยาบาลตางๆประสานมาท่ีศนูยประสานการสงตอฯ (AE referral center ) โทร 043-202478

และ 043-363455

2. พยาบาลศนูยประสานการสงตอฯ ถามประวติัผูปวย การรกัษาทีไ่ดรบั สาเหตสุาํคญัในการสงตอ และเบอร

โทรศัพทของแพทยเจาของไข เพื่อใชในการติดตอกลับ

3. พยาบาลศูนยประสานการสงตอฯ ตดิตอหองเสยีงตามสายโดยโทรหมายเลข 0 เพือ่ใหเจาหนาทีห่องเสยีงตาม

สายตอโทรศัพทติดตอกับแพทยเฉพาะทางให และพยาบาลใหขอมูลแพทยโดยตรง

4. พยาบาลศูนยประสานการสงตอฯใหขอมูลผูปวยและเบอรโทรศัพทของแพทยเจาของไขโรงพยาบาล

ที่จะสงตอแกแพทยเฉพาะทาง*

5. แพทยเฉพาะทางโทรศัพทประสานแพทยโรงพยาบาลท่ีจะสงตอเพ่ือถามรายละเอียดของผูปวยเพ่ิมเติม*

6 แพทยเฉพาะทางตัดสินใจในการรับ/ปฏิเสธผูปวย ใหคําปรึกษาเบื้องตน และบอกเหตุผลกรณีปฏิเสธไม

สามารถรับผูปวยมารักษาตอที่โรงพยาบาลศรีนครินทรได

7. แพทยเฉพาะทางโทรแจงพยาบาลศนูยประสานการสงตอฯวาตดัสนิใจรบัผูปวยแลว ใหเตรยีมรบัผูปวย และ

หากไมรับผูปวยใหโทรแจงพรอมเหตุผล พยาบาลศูนยประสานการสงตอฯ ประสานหนวยงานท่ีเก่ียวของ

เตรียมความพรอมในการรับผูปวย

8. พยาบาลศูนยประสานการสงตอฯลงทะเบียน

*ขอ 4,5,6 ยกเวนภาควิชาศัลยศาสตร ศูนยประสานการสงตอฯ จะใหเบอรโทรศัพทของศัลยแพทยเวรนั้นๆ แก ร.พ.ที่จะสง

ตอผูปวยเพื่อใหแพทยเจาของไขคุยกับศัลยแพทยโดยตรง จากน้ันศัลยแพทยจะติดตอกลับศูนยประสานการสงตอฯ วาจะ

รับผูปวยมาหรือไม

ขั้นตอนการปฏิบัติงานการรับ-สงตอผูปวยในกรณีทางดวนพิเศษ (Fast Tract)

กรณีทางดวนพิเศษ “Stroke Fast Track”ผูปวยที่เขา criteria ปฏิบัติดังนี้

1. แพทยโรงพยาบาลตางๆวินิจฉัยผูปวยวาเปน acute stroke หรือสงสัย acute stroke สามารถเขา fast

track ได

2. โทรศูนยประสานงานฯ 043-202478 หรือ 043-363715 ขอสายแพทย Med AE (ตลอด 24 ชั่วโมง) หรือ

admission center Medicine (วัน-เวลาราชการ 9.00-16.30 น.) โดยแจงวา "Stroke Fast Track"

3. แพทย Med AE หรือ admission center Medicine ใหการปรึกษาทางโทรศัพท และตัดสินใจวารับเขา

fast track หรือไม ถาไดแนะนําใหรีบสงผูปวยมา OPD AE ทันที

Page 8: บทที่1 - @@ Home - KKU Web Hosting · สัญญาในว ันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ.2542 แต เนื่องจากในช วงเกิดวิกฤตเศรษฐก

ระบบรับและสงตอผูปวยโรงพยาบาลศรีนครินทร 9

4. แพทย Med AE แจงพยาบาลศูนยประสานงานฯ เพื่อแจงบุคลากรท่ีเก่ียวของทราบ ไดแก แจงพยาบาล

จุดคัดแยก แจงพยาบาลหองฉุกเฉิน (resuscitate room) เพื่อเตรียมรับผูปวย และแจงแพทยเวร

รังสีวินิจฉัยเพื่อเตรียมทําเอ็กซเรยคอมพิวเตอรสมอง (CT scan brain)

5. พยาบาล AE จุดคัดแยก คัดแยกผูปวยเขาหองฉุกเฉิน แลวรายงานแพทย Med AE และแพทยเฉพาะ

ทาง Neuro MED คูกัน

6. พยาบาล AE โทรแจง stroke unit (หอผูปวย AE 3) รับทราบ

กรณีทางดวนพิเศษ "ACS Fast Tract"

Fax 043-202448 ใหโทรศัพทประสานงานที่ KKU ACS ADMISSION CENTER โทรศัทพ 043-202451,043-202450,

043-203037,043-203182 มือถือ 081-5920364

ขั้นตอนการปฏิบัติงานการรับ-สงตอผูปวยในกรณีญาติติดตอเอง

ในกรณีที่ผูปวยยังนอนอยูที่โรงพยาบาลอื่นไมสามารถเดินทางมารักษาที่โรงพยาบาลศรีนครินทรได และญาติ

ตองการใหมานอนรักษาตอท่ีโรงพยาบาลศรีนครินทรโดยญาติถือหนังสือสงตัวมาติดตอท่ีโรงพยาบาลศรีนครินทรหรือญาติ

โทรศัพทติดตอมาเอง มีขั้นตอนดังนี้

1. ญาติติดตอศูนยประสานงานฯ

2. พยาบาลศูนยประสานงานฯจะรวบรวมขอมูลจากหนังสือสงตัวสงตอ หรือซักถามจากญาติ

3. พยาบาลศูนยประสานงานฯดําเนินการประสานงานกับแพทย/พยาบาลโรงพยาบาลท่ีเกีย่วของ เพือ่สอบถาม

อาการปจจุบันและเหตุผลในการสงตอและขอเบอรโทรศพัทแพทยเจาของไข

4. พยาบาลศูนยประสานการสงตอฯใหขอมูลผูปวยและเบอรโทรศัพทของแพทยเจาของไขโรงพยาบาลท่ีจะ

สงตอแกแพทยเฉพาะทาง

5. แพทยเฉพาะทางโทรประสานแพทยโรงพยาบาลท่ีจะสงตอ เพื่อถามรายละเอียดของผูปวยเพ่ิมเติม

6. แพทยเฉพาะทางตัดสินใจในการรับ/ปฏิเสธผูปวย ใหคําปรึกษาเบื้องตน และบอกเหตุผลกรณีปฏิเสธไม

สามารถรับผูปวยมารักษาตอที่โรงพยาบาลศรีนครินทรได

7. แพทยเฉพาะทางโทรแจงพยาบาล ศนูยประสานการสงตอฯวาตดัสินใจรบัผูปวยแลว จะประสานหนวยงาน

ที่เกี่ยวของเตรียมความพรอมในการรับผูปวย

8. พยาบาลศูนยประสานการสงตอฯลงทะเบียน

2. ศูนยประสานงานการรับ-สงตอกรณีผูปวยไมฉุกเฉิน (OPD referral center)

กรณีผูปวยที่ตองการสงตอเปนผูปวยที่ไมมีภาวะฉุกเฉิน ใหประสานงานกอนสงตอผูปวย โดยประสานผานศูนย

ประสานงานการรับ-สงตอผูปวยแผนกผูปวยนอก โรงพยาบาลศรีนครินทร โทรศัพท 043-363346

ขอบเขตการใหบริการผูปวยสงตอกรณีไมฉุกเฉิน

1. ใหบริการตรวจรักษาผูปวยนอกทุกประเภทท่ีไมมีภาวะฉุกเฉิน โดยเปดบริการตรวจรักษาโรคท่ัวไปตาม

ปกติ วันจันทร-ศุกร เวลา 8.30-16.30 น. (ยื่นบัตรเวลา 7.00-13.30 น.)

2. บริการตรวจรักษาโรคเฉพาะทางและคลินิกเฉพาะโรค เวลา 8.30-16.30 น. (ยื่นบัตรเวลา 7.00 -11.00 น.)

Page 9: บทที่1 - @@ Home - KKU Web Hosting · สัญญาในว ันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ.2542 แต เนื่องจากในช วงเกิดวิกฤตเศรษฐก

10 ระบบรับและสงตอผูปวยโรงพยาบาลศรีนครินทร

การใหบริการประกอบดวยหองตรวจตาง ๆ จํานวน 16 หองตรวจ ดังนี้

หองตรวจเวชปฏิบัติทั่วไป ตรวจรักษาโรคท่ัวไป

หองตรวจเบอร 1 ตรวจโรคกระดูก กลามเน้ือและขอ

หองตรวจเบอร 2 ตรวจโรคทางนรีเวช

หองตรวจเบอร 3 รับฝากครรภ ตรวจหลังคลอด และคลินิกชาย-หญิงวัยทอง

หองตรวจเบอร 4 ตรวจโรคทางศัลยกรรม

หองตรวจเบอร 5 ตรวจโรคทางจักษุวิทยา

หองตรวจเบอร 6 ตรวจโรคทางจักษุวิทยา

หองตรวจเบอร 7 ตรวจโรคทางจิตเวช

หองตรวจเบอร 8 ตรวจโรคทางอายุรกรรม

หองตรวจเบอร 9 ตรวจโรคทางอายุรกรรม

หองตรวจเบอร 10 ตรวจโรคทางเวชศาสตรฟนฟู กายภาพบําบัด และกิจกรรมบําบัด

หองตรวจเบอร 11 ตรวจโรคทางทันตกรรม

หองตรวจกุมารเวชกรรม ตรวจโรคในเด็ก

หองตรวจหู คอ จมูก ตรวจโรคทางหู คอ จมูก

หองตรวจรังสีวินิจฉัย

หองตรวจรังสีรักษา ตรวจรักษาโรคมะเร็งที่ตองไดรับรังสีรักษา

หองตรวจเวชศาสตรนิวเคลียร

คลินิกบูรณาการ ตรวจสุขภาพพิเศษและบริการตรวจรักษานอกเวลาราชการ

แนวปฏิบัติในการสงตอผูปวยกรณีไมฉุกเฉิน

1. เตรียมเอกสารในการสงตอใหพรอม เอกสารท่ีจําเปนในการสงตอผูปวย ไดแก

1.1 หนงัสอืสงตวัผูปวย พรอมประวตักิารรกัษา (กรณใีชสทิธบิตัรทองหรอืบตัรประกันสงัคม กรณุารบัรองสทิธิ

มาดวย)

1.2 ฟลม x-ray, CT, MRI, bone scan หรือการตรวจทางรังสีอื่นๆ พรอมผลอาน (ถามี)

1.3 ใบรายงานผลทางหองปฏิบัติการ โดยเฉพาะท่ีมีความเก่ียวของกับโรคของผูปวย

1.4 ใบรายงานการผาตัด operative note (กรณีผาตัด)

1.5 ใบรายงานผลทางพยาธิวิทยา (ขอสําเนา pathology report ทุกใบที่เก่ียวของและมีลายเซ็นพยาธิแพทย

กํากับ)

1.6 สไลดชิ้นเนื้อ (เพื่อประกอบการอานผลในกรณีที่ผลทางพยาธิวิทยาไมชัดเจน)

1.7 Paraffi n block กรณผีูปวยมะเรง็ตอมนํ้าํเหลอืงทกุคนและมะเรง็เตานมหลงัผาตดัทีไ่มมผีลตรวจ hormone

receptor

1.8 กรณีที่ผูปวยมีโรคประจําตัวและมียาท่ีใชประจํา กรุณาระบุโรคและแนะนําใหผูปวยนํายามาดวย

1.9 บัตรประจําตัวประชาชน

1.10 สําเนาทะเบียนบานหรือสูติบัตร (กรณีเด็ก)

1.11 บัตรตางๆ ที่ตองใชในการตรวจสอบสิทธิคารักษาพยาบาล เชน บัตรประกันสังคม บัตรประกันสุขภาพ

ถวนหนา หรือสมุดคนพิการ เปนตน

Page 10: บทที่1 - @@ Home - KKU Web Hosting · สัญญาในว ันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ.2542 แต เนื่องจากในช วงเกิดวิกฤตเศรษฐก

ระบบรับและสงตอผูปวยโรงพยาบาลศรีนครินทร 11

2. แนะนําผูปวยมาใหตรงวันที่แพทยเฉพาะทางออกตรวจ (ดูในตารางแพทยออกตรวจในบทท่ี 5)

3. หากมกีารประสานแพทยทีโ่รงพยาบาลศรนีครนิทรไวลวงหนา กรุณาระบใุหชดัเจนวาประสานแพทยชือ่/ภาควชิา

และสถานท่ีสงผูปวย เชน หนวยผูปวยนอกอุบัติเหตุฉุกเฉิน (OPD AE) หรือหองตรวจของแผนกผูปวยนอก (OPD)

4. กอนสงตอผูปวย กรุณาตรวจสอบความถูกตองสมบูรณของหนังสือสงตัว โดยเฉพาะผูปวยที่ใชสิทธิบัตร

ทอง หรือบัตรประกันสังคมที่มักพบปญหาวาหนังสือสงตัวไมถูกตอง เชน ไมระบุโรงพยาบาล ไมมีชื่อผูปวย ไมได

ประทับตรารับรองสิทธิหรือประทับตราเรียกเก็บ (ซึ่งจะมีผลทําใหผูปวยไมสามารถใชสิทธิบัตรทองหรือบัตรประกันสังคมได)

และกรุณาระบุวันเวลาหมดอายุในหนังสือสงตัวดวย

5. เพือ่ความถูกตองและรวดเร็วในการสงตอผูปวยพบแพทย กรณุาระบุภาควิชาท่ีตองการสงตอ พบแพทยเฉพาะ

ทางดานใด เชน GI Med, Neuro Med หรือ CVT เปนตน

6. แนะนําผูปวยใหมาถึงโรงพยาบาลศรีนครินทรเวลา 7.00-11.00 น.

7. เม่ือมาถึงโรงพยาบาลศรีนครินทร ใหติดตอพยาบาลศูนยประสานงานการรับ-สงตอผูปวย (พยาบาลดานหนา)

เพื่อประเมินอาการเบื้องตนและคัดแยกประเภทผูปวย

8. กรณีมีพยาบาลนําสง กรุณาสงตอขอมูลผูปวยใหกับพยาบาลท่ีศูนยประสานฯ (พยาบาลดานหนา) ดวย

9. กรณีตองการทราบขอมูลหรือตองการใหตอบกลับ กรุณาระบุมาในหนังสือสงตอดวย

หมายเหตุ ใบสงตัวจะตองระบุถึงโรงพยาบาลศรีนครินทร และมีประทับตราเรียกเก็บหรอืประทับตราโรงพยาบาล

จึงจะสามารถใชสิทธิบัตรทองหรือบัตรประกันสังคมได

ขอดีของการประสานกอนสงตอผูปวย

1. ทราบวันและเวลาที่แพทยเฉพาะทางออกตรวจ

2. สงผูปวยมาไดตรงวันและเวลาท่ีแพทยเฉพาะทางออกตรวจ ลดปญหาการสงตอไมถูกตอง

3. ลดภาระคาใชจายในการเดินทางใหกับผูปวย

4. กรณีมพียาบาลและรถพยาบาลนําสง ทานจะไดรบัการอํานวยความสะดวกจากพยาบาลดานหนาในการใหบรกิาร

ทีร่วดเรว็ เชน ชวยประสานหองเวชระเบยีนเพือ่ทาํบตัรดวน ประสานพยาบาลหองตรวจเพือ่ขอแทรกควิตรวจกอน ซึง่จะทาํให

ทานทราบผลวาผูปวยจะไดรับการ admit หรือตองรับกลับโรงพยาบาลเดิม พยาบาลและรถพยาบาลนําสงไมตองเสียเวลา

รอคอยนาน

การสงตอผูปวยเพ่ือรับการตรวจรักษาตอที่โรงพยาบาลศรีนครินทร ไมวากรณีฉุกเฉินหรือไมฉุกเฉิน ควรมีการ

ประสานงานกอนสงตอทุกครั้ง เพื่อใหมีความพรอมในการเตรียมรับผูปวย มีเวลาในการวางแผนการรักษา ลดปญหาการมา

ไมตรงวันและเวลาที่แพทยเฉพาะทางออกตรวจ เพิ่มโอกาสในการเขาถึงการบริการ ตลอดจนเปนการอํานวยความสะดวกให

แกผูปวยและญาต ิทาํใหผูปวยไดรบัการตรวจรกัษาอยางถกูตอง รวดเรว็ ทนัเวลา ปลอดภยั และเกดิความพงึพอใจ ซึง่สะทอน

คุณภาพของการใหบริการ

Page 11: บทที่1 - @@ Home - KKU Web Hosting · สัญญาในว ันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ.2542 แต เนื่องจากในช วงเกิดวิกฤตเศรษฐก

12 ระบบรับและสงตอผูปวยโรงพยาบาลศรีนครินทร

แผนผังการไหลของงาน

ผูรับผิดชอบ กิจกรรม ผูเก่ียวของ เอกสาร โรงพยาบาลท่ีสงตอ พยาบาลสงตอ

โรงพยาบาลท่ีสงตอ พยาบาลสงตอ

พยาบาลศูนยสงตอ(AE)

พยาบาล AE พยาบาลศูนยสงตอ

(OPD) พยาบาลศูนยสงตอ

(OPD)

พยาบาลศูนยสงตอ(OPD)

เวชระเบียน

แพทย พยาบาลหองตรวจ

แพทย

พยาบาล AE พยาบาลหองตรวจ

แพทย

พยาบาลหอผูปวย

แพทย พยาบาลหอผูปวย พยาบาลหองตรวจ พยาบาลศูนยสงตอ หนวยตรวจสอบ

สิทธิ

พนักงานขับรถ เวรเปล

พนักงานขับรถ

เวรเปล

พยาบาลสงตอ พนักงานขับรถ

เวรเปล

พยาบาลสงตอ เวรเปล

ใบสงตอ บัตรประชาชน บัตรทอง/ บัตร

ประกันสังคม

ใบสงตอ ใบประเมินอาการ

ใบทําบัตรใหม/บัตรเกา

ใบประเมินอาการ

OPD card ใบสงตอ

ใบนอน รพ.

ใบตอบกลับ ใบสงตอ

ใบสงตอเพื่อดูแลตอเนื่อง

ใบนัด

ไมใช

ผูปวยสงตอ

ฉุกเฉินหรือไม

ใช OPD AE

OPD

ฉุกเฉินหรือไม

คัดแยกหองตรวจ

ทําบัตรใหม/ยื่นบัตรเกา

ไมใช

ใช

หองตรวจเฉพาะทาง

Admit หรือไม ใช ไมใช

หอผูปวย สิ้นสุด การรักษา

รักษาตอเนื่อง

สงตอ ระดับสูง

- ตอบกลับ - สงดูแลตอเน่ือง

-สงกลับรพ.ตนสังกัด

- ตอบ กลับ - นัด

- ตอบกลับ - สงตอ

ไมใช

ผูปวยสงตอ

ฉุกเฉินหรือไม

ใช OPD AE

OPD

ฉุกเฉินหรือไม

คัดแยกหองตรวจ

ทําบัตรใหม/ยื่นบัตรเกา

ไมใช

ใช

หองตรวจเฉพาะทาง

Admit หรือไม ใช ไมใช

หอผูปวย สิ้นสุด การรักษา

รักษาตอเนื่อง

สงตอ ระดับสูง

- ตอบกลับ - สงดูแลตอเน่ือง

-สงกลับรพ.ตนสังกัด

- ตอบ กลับ - นัด

- ตอบกลับ - สงตอ

Page 12: บทที่1 - @@ Home - KKU Web Hosting · สัญญาในว ันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ.2542 แต เนื่องจากในช วงเกิดวิกฤตเศรษฐก

ภาวะฉุกเฉินและการดูแลรักษากอนสงตอ 13

3ภาวะฉกุเฉนิและการดูแลรกัษากอนสงตอ

บทท่ี

การดูแลรักษาผูปวยที่มีภาวะฉุกเฉินกอนสงตอเปนหัวใจสําคัญ โรงพยาบาลศรีนครินทรจึงจัดทําคูมือกรณีผูปวย

สงตอที่พบบอยของแตละภาควิชา เพื่อใหโรงพยาบาลท่ีตองการสงตอมีแนวทางปฏิบัติและผูปวยไดรับการดูแลอยางตอเนื่อง

และปลอดภัย ดังรายละเอียดตอไปนี้

1. ภาวะฉุกเฉินทางอายุรศาสตร

Diagnosis Treatment and nursing care

1. Septic shock 1. จัด position ผูปวย clear airway และ foreign body ในปาก เชน ฟนปลอม

เศษอาหาร

2. Record vital signs ทุก 15 นาที, continuous monitor O2 saturation โดย keep

SpO2 > 90%

3. DTX กอน refer

4. IV fl uid 0.9% NaCl 1000 ml fl ow ตามการประเมินของแพทย และใช iv catheter

No.16/18 โดยใหเปดเสน 2 ตําแหนง

5. ให O2

5.1 O2 canula 3-5 L/min กรณีความรูสึกตัวปกติ และ vital signs stable

5.2 O2 mask with bag (10 L/min) กรณีระดับความรูสึกตัวเปลี่ยนแปลง

5.3 ใส ET-tube กรณีหอบเหน่ือยมากหรือเขียวหรือ air-hunger หลังใสทอชวย

หายใจตองฟงปอดและ CXR เพื่อยืนยันตําแหนงของ ET-tube

6. แกไขสาเหตุของภาวะ shock และพิจารณาให vasopressor โดย keep SBP > 90

mmHg

7. เจาะ hemoculture 2 spp กอนใหยา antibiotics และควร start antibiotics

ที่ครอบคลุมเช้ือที่คาดวาเปนสาเหตุตั้งแตกอนสงผูปวย

8. ระหวาง transfer ผูปวย ควร continuous monitor O2 saturation, EKG และ NIBP

ทุก 15 นาที

Page 13: บทที่1 - @@ Home - KKU Web Hosting · สัญญาในว ันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ.2542 แต เนื่องจากในช วงเกิดวิกฤตเศรษฐก

14 ภาวะฉุกเฉินและการดูแลรักษากอนสงตอ

Diagnosis Treatment and nursing care

2. Acute stroke 1. จัด position ผูปวย clear airway และ foreign body ในปาก เชน ฟนปลอม

เศษอาหาร

2. Record vital signs และ neuro signs ทุก 15 นาที, monitor O2 saturation โดย

keep SaO2 > 90%

3. NPO

4. IV fl uid 0.9% NaCl 1000 ml fl ow ตามการประเมินของแพทย และใช iv catheter

No.16/18 โดยเปด 2 เสนที่ดานซายและขวา

5. ให O2

5.1 O2 canula 3-5 L/min กรณีความรูสึกตัวปกติ และ vital signs stable

5.2 O2 mask with bag (10 L/min) กรณีระดับความรูสึกตัวเปลี่ยนแปลง

5.3 ใส ET-tube กรณีซึมมาก (GCS < 10) หอบ เหน่ือยมากหรือเขียว หรือ

air hunger

6. หลังใสทอชวยหายใจตองฟงปอดและ CXR เพื่อยืนยันตําแหนงของ ET-tube

7. ควรให diazepam 10 mg iv หากมีอาการชัก

8. ระหวาง transfer ผูปวย ควร monitor O2 saturation, vital signs และ neuro

signs ตามอาการ

9. ตรวจเลอืด CBC ถาทาํไดกอนสงตวั แตหากทาํไมไดใหเจาะเลอืดใส tube มากบัผูปวย

10. Activate stroke fast track กอนการสงตวั เพือ่ใหทมีแพทยโรงพยาบาลศรนีครินทร

เตรียมความพรอม

Page 14: บทที่1 - @@ Home - KKU Web Hosting · สัญญาในว ันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ.2542 แต เนื่องจากในช วงเกิดวิกฤตเศรษฐก

ภาวะฉุกเฉินและการดูแลรักษากอนสงตอ 15

Diagnosis Treatment and nursing care

3. Seizure and 1. จัด position ผูปวย

Status epilepticus 2. Clear airway และ foreign body ในปาก เชน ฟนปลอม เศษอาหาร

3. Record vital signs และ neuro signs ทุก 15 นาที, monitor O2 saturation โดย

keep SaO2 > 90%

4. NPO

5. IV fl uid 0.9% NaCl 1000 ml fl ow ตามการประเมินของแพทย และใช iv catheter

No.16/18

6. ให O2

6.1 O2 canula 3-5 L/min กรณีความรูสึกตัวปกติ และ vital signs stable

6.2 O2 mask with bag (10 L/min) กรณีความรูสึกตัวเปลี่ยนแปลง

6.3 ใส ET-tube กรณีซึมมาก (GCS < 10) ไมสามารถควบคุมอาการชักได

หอบเหน่ือยมาก เขียว หรือ air hunger หลังใสทอชวยหายใจตองฟงปอดและ

CXR เพื่อยืนยันตําแหนงของ ET-tube

7. ควรให diazepam 10 mg iv หากมีอาการชักซํ้ําระหวาง transfer

8. หากสงสัย status epilepticus ควรตรวจสอบยาท่ีผูปวยไดรับ

8.1 หากผูปวยกินยา Valproate (Depakin) ใหยา Valproate 1200 mg + 5DW

100 ml iv drip in 1 hr

8.2 หากผูปวยกินยาชนิดอื่น ใหยา Dilantin 750 mg + NSS 100 ml iv drip

in 30 min และรีบสงตอผูปวย

9. ระหวาง transfer ผูปวย ควร monitor O2 saturation, vital signs และ neuro

signs ตามอาการ

Page 15: บทที่1 - @@ Home - KKU Web Hosting · สัญญาในว ันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ.2542 แต เนื่องจากในช วงเกิดวิกฤตเศรษฐก

16 ภาวะฉุกเฉินและการดูแลรักษากอนสงตอ

Diagnosis Treatment and nursing care

4. Congestive 1. จัด position ผูปวย

heart failure 2. Clear airway และ foreign body ในปาก เชน ฟนปลอม เศษอาหาร

3. Record vital signs ทุก 15 นาที และ monitor O2 saturation โดย keep SaO

2

> 90%

4. NPO

5. IV fluid 0.9% NaCl 1000 ml flow ตามการประเมินของแพทย์ และใช้ iv

catheter No.16/18

6. ให O2

6.1 O2 canula 3-5 L/min กรณีความรูสึกตัวปกติ และ vital signs stable

6.2 O2 mask with bag (10 L/min) กรณีความรูสึกตัวเปลี่ยนแปลง

6.3 ใส ET-tube กรณีหอบเหน่ือยมากหรือ เขียวหรือ air hunger หลังใสทอ

ชวยหายใจตองฟงปอดและ CXR เพื่อยืนยันตําแหนงของ ET-tube

7. หากมีภาวะ shock ใหแกไขสาเหตุของภาวะ shock และพิจารณาให vasopressor

โดย keep SBP > 90 mmHg

8. ให furosemide 40 mg iv ปรับขนาดตามการทํางานของไต

9. หาก BP > 140/90 mmHg เริ่มยา NTG iv ปรับตามความดันโลหิต

10. Retain Foley’s catheter

11. ระหวาง transfer ผูปวย ควร monitor O2 saturation, vital signs และ neuro

signs ตามอาการ

เพ่ือการดูแลรักษาตอผูปวยอายุรกรรมไดอยางมีประสิทธิภาพ ขอใหเตรียมเอกสารและขอมูลที่จําเปน ดังนี้

1.1 เอกสารการสงตอผูปวย กรุณาระบุถึง

• อาการสําคัญ

• ระยะเวลา โดยเฉพาะอาการชักในกรณีของ seizure and status epilepticus

• ความรุนแรง

• การเปลี่ยนแปลงของอาการ

• สิ่งที่คาดวาจะเปนสาเหตุ

• ผลการตรวจรางกายโดยละเอียดโดยเฉพาะ neurological examination (กรณี stroke และ seizure

and status epilepticus)

• ระบุ procedure ที่ทํามากอนหนาน้ี (ถามี)

• สาเหตุของการสงตอ

• สิทธกิารรักษาของผูปวย

1.2 เตรียมสําเนาผลการตรวจทางหองปฏิบัติการ ในแตละโรค/ภาวะ ดังนี้

• Septic shock ไดแก CBC, Chest X- ray, H/C, sputum G/S and C/S, blood chemistry และ

อื่นๆ ที่เกี่ยวของตามความเหมาะสม

Page 16: บทที่1 - @@ Home - KKU Web Hosting · สัญญาในว ันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ.2542 แต เนื่องจากในช วงเกิดวิกฤตเศรษฐก

ภาวะฉุกเฉินและการดูแลรักษากอนสงตอ 17

• Stroke ไดแก สําเนาผลการตรวจทางเอ็กซเรยและหองปฏิบัติการ(ถามี) ไดแก CT brain, CBC,

coagulogram, ECG, blood chemistry และอื่นๆ ที่เก่ียวของตามความเหมาะสม

• Seizure and status epilepticus ไดแก สําเนาผลการตรวจทางเอ็กซเรยและหองปฏิบัติการ (ถามี)

ไดแก CT- brain, CBC, blood chemistry, DTX และอื่นๆท่ีเก่ียวของตามความเหมาะสม

• สําเนาผลการตรวจทางเอ็กซเรยและหองปฏิบัติการ(ถามี) ไดแก CXR, ECG, TnT, CK-MB, CBC,

blood chemistry, DTX และอื่นๆ ที่เก่ียวของตามความเหมาะสม

1.3 นํายาเดิมของผูปวยทั้งหมดมาดวย

2. ภาวะฉุกเฉินทางศัลยศาสตร

Diagnosis Treatment and nursing care

1. Traumatic case

1.1 ผูปวยที่มีปญหาระบบ 1. จัดทางเดินหายใจใหโลง ตรง chin lift , jaw thrust maneuver

ทางเดินหายใจ/ 2. จัด position

Chest injury 3. Clear airway: suction ใส oropharyngeal airway

4. ใหออกซิเจนตามความเหมาะสม

5. ใสทอชวยหายใจ เม่ือมีขอบงชี้ เชน

- หยุดหายใจ

- ขาดออกซิเจนรุนแรง ใหออกซิเจนแลวยังไมดีขึ้น

- Severe maxillofacial fracture รวมกับมีปญหาการหายใจ

- Inhalation injury

- ผูปวยท่ีมี GCS นอยกวา 9

6. NPO

7. IV Fluid เชน Ringer lactate หรือ Acetar โดย rate ตามอาการและตอ T way ใน

set IV ทุก case ที่นําสง

8. กรณี respiratory insuffi ciency ตองใส ET-tube

9. กรณี open pneumothorax (sucking chest wound) ใหใช sterile Vaseline

gauze ปดที่แผลแลวปดพลาสเตอรใหแนน แลวจึงใสสายระบายทรวงอกท่ีบาดแผล

แยกจากแผลเดิม

10. กรณี tension pneumothorax or pneumohemothorax ที่รีบดวนใหพิจารณาใช

เข็มขนาดใหญเจาะเขาชองกระดูกซี่โครงท่ี 2 ตามแนว midclavicular line แลวจึง

พิจารณาใสทอระบายทรวงอก โดยใหใส ICD กอนใส ET-tube

11. กรณี massive hemothorax ใสทอระบายทรวงอกขางท่ีตรวจพบ ถาผูปวยมีอาการ

แสดงภาวะ shock ใหการรกัษาพยาบาลตามแนวทางการรกัษาผูปวยทีม่ภีาวะ Shock

12. ประเมินและเฝาระวัง บันทึก vital signs ทุก 15 นาที

13. นําฟลม ผลตรวจทางหองปฏิบัติการและใบสงตอสงพรอมผูปวย (ถามี)

14. ประเมินและเฝาระวัง บันทึก vital signs, neuro signs และ O2 sat ทุก 15 นาที

Page 17: บทที่1 - @@ Home - KKU Web Hosting · สัญญาในว ันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ.2542 แต เนื่องจากในช วงเกิดวิกฤตเศรษฐก

18 ภาวะฉุกเฉินและการดูแลรักษากอนสงตอ

Diagnosis Treatment and nursing care

1.2 Trauma with shock 1. NPO

2. ถาผูปวยหายใจไดและไมมีปญหาเรื่องการหายใจใหออกซิเจนทาง mask with bag

12-15 L/min ถาผูปวยมีปญหาเรื่องการหายใจรวมดวยใหการรักษาพยาบาลตาม

แนวทางปฏิบัติสําหรับผูปวยที่มีปญหาเร่ืองการหายใจ

3. หาสาเหตุภาวะ shock

4. ใหสารนํ้ํา Ringer lactate หรือ normal saline ทางหลอดเลือดดํา 2 แหงโดยใชเข็ม

ขนาดใหญ No 16/18

5. หามเลือดที่ออกจากภายนอก เชน ใช pressure dressing, เย็บหามเลือดและ

ใส splint

6. กรณทีีม่ ีmaxillofacial injury with massive bleeding อาจตองทาํ anteroposterior

nasal packing หรืออาจใส ET-tube เพื่อปองกัน aspiration

7. กรณีมี unstable fractured pelvis ใหทํา pelvic wrapping

8. ใสสาย NG tube หากไมมีขอหาม ใสสายสวนปสสาวะ หากไมมีขอหาม

9. ประเมินและเฝาระวัง บันทึก vital signs, neurological signs และ O2 sat

ทุก 15 นาที

1.3 Head Injury 1. ใหออกซิเจนเม่ือ O2 Sat < 95%

2. ใส ET-tube เม่ือ GCS < 9

3. IV fl uid : 0.9 % NSS 60-80 cc/hr ใหตอ T way ใน set IV ทุก case ที่นําสง

4. กรณีมีบาดแผล ให stop bleeding ดวย pressure กอน

5. กรณี severe head injury ประเมินและเฝาระวัง บันทึก vital signs N/S O2 sat

ทุก 15 นาที และ monitor EKG ถามีอุปกรณ

6. NPO

7. Retained NG tube & Foley‘s catheter หากไมมีขอหาม

1.4 Intracranial 1. จัด positionใหผูปวยยกศีรษะสูง 20-30 องศา คอตรง

hemorrhage 2. Clear airway และ foreign body ในปาก

3. Record GCS, pupil size ทุก 20 นาที

4. NPO

5. IV catheter No 18, 20 และให IV fl uid 0.9%NaCl 120 ml/hr

6. ให O2 ถารูสึกตัวให mask with bag 12 L/min

7. ถา pupil มีขนาดไมเทากันเกิน 2 มม. และ BP >100/60 mmHg ให 20% mannitol

300 ml IV drip free fl ow

8. ถา GCS < 8 ใส ET-tube ,ถา GCS < 12 ใหใสสายสวนปสสาวะ

Page 18: บทที่1 - @@ Home - KKU Web Hosting · สัญญาในว ันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ.2542 แต เนื่องจากในช วงเกิดวิกฤตเศรษฐก

ภาวะฉุกเฉินและการดูแลรักษากอนสงตอ 19

Diagnosis Treatment and nursing care

2. Aortic aneurysm 1. วดัV/S รวมถงึ BP 4 extremities และคลาํ pulseทัง้ 4 extremities ไวเปน baseline

และวัด V/S ซํ้ําทุก 10-15 นาที

2. Keep SBP <120, >90 mmHg หาก BP สงูมากควรลด BP ลงดวย IV beta-blocker

แตถาไมมีให drip NTG มากอน

3. เปดเสนให IV fl uid ดวยเข็มเบอร 18 ตอT-way และ extension line ถามี และให

0.9%NaCl ใน rate 80-100 ml/hr

� ยกเวนกรณี shock ใหเปด IV 2 เสนและ load 0.9% NSS 500 ml in

15 min

4. On oxygen canula ถา O2sat < 95%

5. เคลือ่นยายผูปวยดวยความระมัดระวัง หาม apply pressure ลงบนหนาทองของผูปวย

หลีกเลี่ยงการตรวจหนาทอง ยกเวนแพทยผูดูแล

6. NPO

7. Retain Foley catheter หากมีขอบงช้ีนํา fi lm U/S หรือ CT scan มาดวยเสมอ

3. Gut obstruction 1. Record V/S และ abdominal sign ทุก 15-30 นาที

2. On oxygen canula if O2sat <95% หรือ หอบ RR> 24/min

3. Retain NG tube เปดตอลงถุง

4. On IV เข็ม No.18, ให NSS/RLS rate 100 ml/hr ปรับตามความเหมาะสม

5. หากมีไขให empiric ATB เปน ceftriaxone 2 g IV กอนนําสง

6. Retain Foley catheter หากไมมีขอหาม

7. NPO

8. หลีกเลี่ยงการให analgesics หรือ laxatives

4. UGIB 1. Record V/S ทุก 15 นาที

2. Record คา % Hct ลาสุด

3. On IV เข็ม No.18, ให NSS/RLS rate 100 ml/hr ปรับตามความเหมาะสม

4. Retain NG tube, NG lavage เพื่อ evaluate active bleeding

5. NPO

6. Retain Foley catheter หากมีขอบงช้ี

7. Cross match for PRC เผือ่ใชขณะนาํสงหากม ีactive bleeding และ V/S unstable

8. นําสงโดยเร็ว

5. Peritonitis 1. Record V/S และ abdominal sign ทุก15-30 นาที

2. On oxygen canula if O2sat <95% หรือ หอบ RR> 24/min

3. Retain NG tube เปดตอลงถุง

4. On IV เข็ม No.18, ให NSS/RLS rate 100 ml/hr ปรับตามความเหมาะสม

5. หากมีไขให empiric ATB เปน ceftriaxone 2 g IV และ Metronidazole IV กอน

หรือระหวางนําสง

6. Retain Foley catheter หากไมมีขอหาม

Page 19: บทที่1 - @@ Home - KKU Web Hosting · สัญญาในว ันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ.2542 แต เนื่องจากในช วงเกิดวิกฤตเศรษฐก

20 ภาวะฉุกเฉินและการดูแลรักษากอนสงตอ

Diagnosis Treatment and nursing care

7. NPO

8. หลีกเลี่ยงการให analgesics

9. นํา fi lm x-ray มาดวยเสมอ

6. Ruptured 1. ใหออกซิเจนเม่ือ O2 Sat < 95%

intracranial 2. ใส ET-tube เม่ือ GCS < 9

AVM/Aneurysms 3. IV fl uid0.9 % NSS 60-80 cc/hr ตอ T way

4. ประเมินและเฝาระวัง บันทึก vital signs, N/S, O2 sat ทุก 15 นาที และ monitor

EKG ถามีอุปกรณ

5. NPO

6. Retained NG-tube & Foley’s catheter หากไมมีขอหาม

7. นํา fi lm CT หรือ MRI มาดวย ถามีการเตรียมผูปวยแรกเกิดที่จําเปนตองไดรับการ

ผาตัด

การเตรียมผูปวยแรกเกิดที่ตองไดรับการผาตัด

หลักในการพิจารณาในการเตรียมนําสงผูปวยเพื่อการรักษา

1. การหายใจ (air way) พิจารณาวาตองชวยหายใจหรือไม ถาชวยจะชวยแคไหน เชน ให oxygen หรือถาหายใจ

เร็วมากกวา 60 ครั้งตอนาทีตองใสทอชวยหายใจ เปนตน

2. พกัทางเดินอาหาร (rest bowel) งดการใหสารอาหารทางปาก ใสสายสวนกระเพาะอาหารเพ่ือดดูเอานํ้าํยอยออก

จากทางเดินอาหาร

3. ใหสารนํ้ํา (hydration) เปดเสนเลือดดําเพ่ือใหสารนํ้ําเพราะเด็กทนตอภาวะขาดนํ้ําไดไมนานเชน 10% D/W, 5%

D/N/5

4. ยาปฏิชีวนะ (antibiotic) พิจารณาวาตองใหยาปฏิชีวนะหรือไม ถาใหจะครอบคลุมเชื้ออะไรบางเชน gastro

schisis, omphaloceleให Ampicillin+Gentamicin หรือ Gentamicin+Cloxacillin

5. ควบคุมอุณหภูมิ (keep warm) ใหความอบอุนแกเด็กเพราะเด็กทนตอความเย็นไดไมนาน เด็กจะแยลง เชน

ใชผาหม ตูอบเด็ก

6. การจัดทา (position) พิจารณาวาเด็กควรจะอยูในทาไหนถึงจะปลอดภัย เชน ทานอนหัวสูง 45 องศาในผูปวย

congenital diaphragmatic hernia ทานอนตะแคงขวาข้ึนหรือนอนควํ่ํําหวัสงูในผูปวย esophageal atresia

7. อื่นๆ (special) เชน การหอหุมลําไสและสวนลางลําไสใหญในผูปวย gastroschisis, omphalocele ดูดสาย

สวนกระเพาะอาหาร (หลอดอาหาร) บอยๆในผูปวยหลอดอาหารตัน (esophageal atresia) เปนตน

Page 20: บทที่1 - @@ Home - KKU Web Hosting · สัญญาในว ันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ.2542 แต เนื่องจากในช วงเกิดวิกฤตเศรษฐก

ภาวะฉุกเฉินและการดูแลรักษากอนสงตอ 21

Diagnosis Treatment and nursing care

1. Congenital 1. Air way ให O2 10 L/min แตถาหายใจเร็วมากกวา 60 ครั้ง/นาที ใหใส ET tube เพื่อ

diaphragmatic ชวยการหายใจ

hernia 2. NPO ใส OG tube เพื่อพักการทํางานของทางเดินอาหาร

3. IV fl uid ชวงแรกพิจารณาให 10% D/W ตอดวย 5% D/N/5

4. Antibiotic ยังไมจําเปนตองให

5. Keep warm หมผาใหความอบอุนหรือนําเด็กเขาตูอบเด็ก

6. Position เด็กอยูในทานอนหงายยกหัวสูง (semi upright)

7. Special ไมมี

2. Esophageal 1. Air way ให O2 10 L/min แตถาหายใจเร็วมากกวา 60 ครั้ง/นาที ใหใส ET tube เพื่อ

atresia with or ชวยการหายใจ

without 2. NPO ใส OG tube ขนาด No.8-10 เพื่อดูดนํ้ําลายและทดสอบวาหลอดอาหารตอน

tracheoesophageal บนตัน

fi stula 3. IV fl uid ชวงแรกพิจารณาให 10% D/W ตอดวย 5% D/N/5

4. Antibiotic ให Penicillin

5. Keep warm หมผาใหความอบอุนหรือนําเด็กเขาตูอบเด็ก

6. Position เด็กอยูในทานอนควํ่ํํายกหัวสูง (head up and prone)

7. Special ดูดนํ้ําลายออกบอยๆเพ่ือไมใหปอดอักเสบ

3. Infantile 1. Air way ให O2 10 L/min แตถาหายใจเร็วมากกวา 60 ครั้ง/นาที ใหใส ET tube เพื่อ

hypertrophic ชวยการหายใจ

pyloric stenosis 2. NPO ใส OG tube ขนาด No.8-10 เพื่อดูดนํ้ําลายและกรดออกจากกระเพาะอาหาร

3. IV fl uid ชวงแรกพิจารณาให 5% D/N/3 หรือ 5%D/NSS ขึ้นอยูกับวา electrolyte

imbalance เปนอยางไร

4. Antibiotic ยังไมตองให

5. Keep warm หมผาใหความอบอุนหรือนําเด็กเขาตูอบเด็ก

6. Position เด็กอยูในทานอนหงายยกหัวสูง (semi upright)

7. Special ดูแล fl uid และ electrolyte imbalance และการขาดสารอาหาร

4. Duodenal 1. Air way ให O2 10 L/min แตถาหายใจเร็วมากกวา 60 ครั้ง/นาที ใหใส ET tube เพื่อ

obstruction ชวยการหายใจ

2. NPO ใส OG tube ขนาด No.8-10 เพื่อดูดนํ้ําลายและกรดออกจากกระเพาะอาหาร

3. IV fl uid ชวงแรกพิจารณาให 5% D/N/5 ขึ้นอยูกับวา electrolyte imbalance เปน

อยางไร

4. Antibiotic ยังไมตองให

5. Keep warm หมผาใหความอบอุนหรือนําเด็กเขาตูอบเด็ก

6. Position เด็กอยูในทานอนหงายยกหัวสูง (semi upright)

7. Special ดูแล fl uid electrolytes imbalance

Page 21: บทที่1 - @@ Home - KKU Web Hosting · สัญญาในว ันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ.2542 แต เนื่องจากในช วงเกิดวิกฤตเศรษฐก

22 ภาวะฉุกเฉินและการดูแลรักษากอนสงตอ

Diagnosis Treatment and nursing care

5. Jejunoileal atresia 1. Air way ให O2 10 L/min แตถาหายใจเร็วมากกวา 60 ครั้ง/นาที ใหใส ET tube เพื่อ

ชวยการหายใจ

2. NPO ใส OG tube ขนาดNo.8-10 เพื่อดูดนํ้ําลายและกรดออกจากกระเพาะอาหาร

3. IV fl uid ชวงแรกพิจารณาให 5% D/N/5 หรือ ขึ้นอยูกับวา electrolyte imbalance

เปนอยางไร

4. Antibiotic ยังไมตองให

5. Keep warm หมผาใหความอบอุนหรือนําเด็กเขาตูอบเด็ก

6. Position เด็กอยูในทานอนหงายยกหัวสูง (semi upright)

7. Special ดูแล fl uid electrolytes imbalance

6. Congenital 1. Air way ให O2 10 L/min แตถาหายใจเร็วมากกวา 60 ครั้ง/นาที ใหใส ET tube เพื่อ

aganglionosis ชวยการหายใจ

(Hirschsprung’s 2. NPO ใส OG tube ขนาด No.6-8 เพื่อดูดนํ้ําลายและกรดออกจากกระเพาะอาหาร

disease) 3. IV fl uid ชวงแรกพิจารณาให 5% D/N/5 หรือ ขึ้นอยูกับวา electrolyte imbalance

เปนอยางไร

4. Antibiotic ยังไมตองให

5. Keep warm หมผาใหความอบอุนหรือนําเด็กเขาตูอบเด็ก

6. Position เด็กอยูในทานอนหงาย

7. Special ทํา rectal irrigation เพื่อการวินิจฉัยและลดอาการทองอืด

7. Anorectal 1. Air way ให O2 10 L/min แตถาหายใจเร็วมากกวา 60 ครั้ง/นาที ใหใส ET tube เพื่อ

malformation ชวยการหายใจ

2. NPO ใส OG tube ขนาด No.6-8 เพื่อดูดนํ้ําลายและกรดออกจากกระเพาะอาหาร

3. IV fl uid ชวงแรกพิจารณาให 5% D/N/5 หรือ ขึ้นอยูกับวา electrolyte imbalance

เปนอยางไร

4. Antibiotic ยังไมตองให

5. Keep warm หมผาใหความอบอุนหรือนําเด็กเขาตูอบเด็ก

6. Position เด็กอยูในทานอนหงาย

7. Special สังเกตวามี meconium ออกจากชองคลอดหรือปสสาวะหรือไม

8. Gastroschisis, 1. Air way ให O2 10 L/min แตถาหายใจเร็วมากกวา 60 ครั้ง/นาที ใหใส ET tube เพื่อ

Omphalocele ชวยการหายใจ

2. NPO ใส OG tube ขนาด No.6-8 เพื่อดูดนํ้ําลายและกรดออกจากกระเพาะอาหาร

3. IV fl uid ชวงแรกพิจารณาให 10%D/W หรือ ขึ้นอยูกับวา electrolyte imbalance

เปนอยางไร

4. Antibiotic ให Ampicillin + Gentamicin หรือ Gentamicin + Cloxacillin

5. Keep warm หมผาใหความอบอุนหรือนําเด็กเขาตูอบเด็ก

6. Position เด็กอยูในทานอนหงาย

Page 22: บทที่1 - @@ Home - KKU Web Hosting · สัญญาในว ันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ.2542 แต เนื่องจากในช วงเกิดวิกฤตเศรษฐก

ภาวะฉุกเฉินและการดูแลรักษากอนสงตอ 23

Diagnosis Treatment and nursing care

7. Special ทําrectal irrigation เพื่อสวนเอา meconium ออกและ dressing โดยมี

ขั้นตอนดังนี้

- ทําความสะอาดลําไสหรือถุงหุมดวย povidine เจือจาง

- คลุมช้ันในดวย vaseline gauze

- ชั้นถัดมาเปน gauze ชุบนํ้ําเกลือ

- พันดวย gauze bandage

- คลุมดวยถุงพลาสติก

3. ภาวะฉุกเฉินทางออรโธปดิกส

1. Spinal injury / 1. Record vital signs ทุก 15 นาที

2. NPO

3. ให IV fl uid: RLS 1000 ml. ปองกันการเกิดภาวะ shock

4. ให Oxygen therapy ตามความจําเปนเพ่ือให O2Sat ≥ 95%

4. ดามกระดกูตนคอโดยการใส hard collar ในรายทีส่งสยัภาวะ cervical spine injury

เชน ไมรูสกึตวั, paraplegia , quadriplegia, ไมสามารถทาํ voluntary neck fl exion

ไดหรือปวดตนคอมาก เปนตน

5. ถาสงสัย T-L spine fracture ให immobilization โดยใช long spinal board

6. Retained NG tube & foley’s cath ในกรณี T-L spine fracture

2. Open fracture, 1. Record vital signs ทุก 15 – 30 นาที ตามความเหมาะสม

Closed fracture 2. NPO

with dislocation 3. Dressing & pressure, ใส Splint

4. ให IV fl uid : RLS 1000 ml fl ow ตามอาการ ขึ้นกับ vital signs และใช IV catheter

No.16 หรือ 18 (ควรใหขางท่ีไมมีบาดแผล หรือ fracture)

5. X – ray ตําแหนงที่กระดูกหัก

4. ภาวะฉุกเฉินทางโสต-ศอ-นาสิกและลาริงซวิทยา

1. Upper airway 1. Clear secretion

obstruction 2. ให O2 mask with bag

3. จัดทาใหผูปวยนอนในทาที่หายใจไดโลงที่สุด

4. NPO ทันที

5. ให IV fl uid

6. Monitor O2 saturation ทุก 15 นาที vital signs ทุก 15 นาที

7. เตรียมใส ET tube หรือ tracheotsomy เม่ือมีอาการตอไปนี้

7.1 กระสับกระสาย

7.2 Inspiratory stridor

7.3 HR/PR > 120 -140 /min

7.4 Flaring of nostrils หรือ suprasternal notch retractile หรือ cyanosis ใน

room air หรือ on O2 therapy หรือ O

2 saturation < 95 % ขณะ on O

2

Page 23: บทที่1 - @@ Home - KKU Web Hosting · สัญญาในว ันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ.2542 แต เนื่องจากในช วงเกิดวิกฤตเศรษฐก

24 ภาวะฉุกเฉินและการดูแลรักษากอนสงตอ

Diagnosis Treatment and nursing care

2. Epistaxsis 1. บีบปกจมูก 2 ขาง เขาหากันอยางนอย 5 นาที

2. วัด vital signs

3. เจาะ CBC, Hct stat, work up coagulopathy และเผื่อ tube cross match ตาม

ความเหมาะสม

4. เตรียม set nasal packing รวมทั้ง Foley’s cath เบอร 16

5. หากม ีactive bleeding หรอื vital signs unstable ใหเปดเสนให IV fl uid และควร

resuscitation ให stable กอนนําสง

5. ภาวะฉุกเฉินทางจักษุวิทยา

1. Chemical burn 1. ควรรีบใหการรักษาโดยการลางตาทันที โดยไมจําเปนตองรอ ซักประวัติจนครบหรือ

วัดสายตากอน (ใหซักประวัติเพิ่มเติมขณะลางตา และอาจวัดสายตาภายหลังลางตา)

2. แยกหนาที่ โดย

2.1 พยาบาลคนท่ี 1 รีบแจงจักษุแพทย

2.2 พยาบาลคนท่ี 2 เตรียมลางตา

ขั้นตอนการลางตา

1. หยอดยาชา (tetracaine eye drop 0.5-1%) 1-2 หยด ในตาขางที่จะลาง

2. ใชทีถ่างตา (eye speculum) หากไมมอีาจใชนิว้หรอืไมพนัสาํลชีวยเปดตาโดยระวังไม

กดไปที่ลูกตา

3. ลางตาดวยนํ้าํสะอาด (0.9% normal saline) อยางนอย 1-2 ลติรโดยไมคาํนงึวาผูปวย

ลางตามาเองแลวหรือไม โดยตอสายยางจากขวดนํ้ําเกลือจนกระทั่ง pH เปนกลาง

(ประเมินโดยกระดาษลิตมัส)

4. ขณะลางอาจใชไมพันสําลีกวาดเอาสารเคมีที่ตกคางอยูที่กระพุงตา (fornix) ออกดวย

5. ซักประวัติในขณะลางตา หากผูปวยมีความเส่ียงตอการเกิดลูกตาแตก เชน มีประวตัิ

ไดรับอุบัติเหตุรุนแรง ตรวจพบลูกตาผิดรูป หรือตรวจพบมานตาผิดรูป ใหครอบท่ี

ครอบตา (eye shield) แลวรบีตามจักษแุพทยหรอืสงตอยังโรงพยาบาลท่ีมจีกัษแุพทย

หามทําการหยอดยาหรือลางตาหรือใสที่ถางตา

6. ในกรณีที่มีบาดแผลบริเวณผิวหนังรอบดวงตา ใหทําการรักษาเหมือนแผล burn ที่

ผิวหนังทั่วไป คือ ทําแผล ใหยาปฏิชีวนะ และยาปองกันบาดทะยัก

7. ระหวางรอจักษุแพทยหรือรอสงตอ ไมควรหยอดยาใด ๆ เพราะอาจบดบังรอยโรคได

ควรใหการรักษาข้ันตนดังน้ีคือ

7.1 ครอบ eye shield

7.2 งดนํ้ําและอาหาร เพื่อเตรียมผาตัด

7.3 ใหยาฉีดแกปวด

7.4 ใหยาปฏิชีวนะรูปแบบฉีด

Page 24: บทที่1 - @@ Home - KKU Web Hosting · สัญญาในว ันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ.2542 แต เนื่องจากในช วงเกิดวิกฤตเศรษฐก

ภาวะฉุกเฉินและการดูแลรักษากอนสงตอ 25

Diagnosis Treatment and nursing care

2. อุบัติเหตุทางตา 1. ประเมินผูปวยวามีอาการบาดเจ็บรุนแรงที่อื่น ที่อาจกอใหเกิดอันตรายถึงแกชีวิตได

หรือไม

2. ซักประวัติเก่ียวกับกลไกการเกิดการบาดเจ็บ เชน ลักษณะ และทิศทางของวัตถุที่มา

กระแทก เพื่อทราบถึงสาเหตุ ความรุนแรงและการพยากรณโรค

3. ครอบ eye shield ในผูปวยที่ไดรับการวินิจฉัยวาเปนลูกตาแตก (ruptured or per

foration of eyeball, ruptured globe, rupture cornea or sclera, corneal or sclera

perforation) หามปด pressure patch

4. ใหผูปวยงดนํ้ํา งดอาหาร เน่ืองจากผูปวยอาจจําเปนตองเขารับการผาตัด

5. รีบแจงจักษุแพทย และควรรอจักษุแพทยมาวัดสายตา เน่ืองจากการพยายามเปดตา

เพื่อวัดสายตาอาจทําใหแผลที่ลูกตาเปดกวางข้ึนได

6. หากจาํเปนตองเปดเปลอืกตา ตองระวงัไมควรไปกดบรเิวณลกูตา ควรดันเปลอืกตาไป

ทางกระดูกเบาตาแทน เพื่อปองกันการเพิ่มความดันในตา และเกิดภาวะแทรกซอน

ตามมา

7. ไมควรหยอดหรือปายยาใดๆเขาในตา รวมถึงยาชา ยาปฏิชีวนะ หรือยาขยายมานตา

เพราะหากมีบาดแผลท่ีลูกตา อาจทําใหยาเขาไปทําอันตรายตออวัยวะในลูกตาได

8. กรณีที่เปนผูปวยเด็ก อาจตรวจเทาที่จําเปน หากเด็กไมใหความรวมมืออาจรอจักษุ

แพทยหรือกุมารแพทยมาประเมิน

9. อาจใหการรักษาเบื้องตน เชน ใหยากันบาดทะยัก (tetanus toxoid และ tetanus

antitoxin) ยาฉีดเขาหลอดเลือดดํา เชน ยาแกปวด และยาปฏิชีวนะ โดยยังไมใหยา

รับประทานเน่ืองจากผูปวยอาจตองเขารับการผาตัด

3. Traumatic 1. ประเมินผูปวยวามีอาการบาดเจ็บรุนแรงที่อื่น ที่อาจกอใหเกิดอันตรายถึงแกชีวิตได

hyphema หรือไม

2. ซักประวัติเก่ียวกับกลไกการเกิดการบาดเจ็บ เชน ลักษณะ และทิศทางของวัตถุที่มา

กระแทก เพื่อทราบถึงสาเหตุ ความรุนแรงและการพยากรณโรค

3. ตรวจดูวามีการบาดเจ็บรวมอยางอื่นหรือไม เชน บาดแผลท่ีกระจกตา หรือลูกตาแตก

หากมีใหทําการรักษาเหมือนอุบัติเหตุทางตา

4. ประเมนิความรนุแรงของภาวะเลอืดออกในชองหนามานตา (hyphema) โดยแบงเปน

4 grade คือ Grade I มีเลือดนอยกวา 1/3 ของ anterior chamber

Grade II มีเลือด 1/3-1/2 ของ anterior chamber

Grade III มีเลือดมากกวา 1/2 ของ anterior chamber

Grade IV มีเลือดเต็ม anterior chamber

5. แจงจักษุแพทย

6. การรักษาข้ันตน คอื ใหนอนพัก (bed rest) หวัสงูประมาณ 30-60 องศา เพือ่ลด venous

congestion และทําใหเลือดตกเปนระดับ เพื่องายในการประเมินปริมาณเลือดและ

ตรวจตาบริเวณดานหลังตอเลือดไดงาย

Page 25: บทที่1 - @@ Home - KKU Web Hosting · สัญญาในว ันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ.2542 แต เนื่องจากในช วงเกิดวิกฤตเศรษฐก

26 ภาวะฉุกเฉินและการดูแลรักษากอนสงตอ

Diagnosis Treatment and nursing care

7. ครอบ eye shield เพื่อปองกันการกระแทกซํ้ํา

8. ใหอาหารเค้ียวงายและยอยงาย

9. ใหยาระบายหากมีอาการทองผูก เพราะการแบงอาจเปนการเพ่ิมโอกาสเลือดออกซํ้ํา

10. หลีกเลี่ยงการใหยากลุม NSAIDs หรือ antiplatelet เชน aspirin

11. หากตรวจพบผูปวยมเีลอืดออกซํ้าํ รบีแจงจกัษแุพทย เนือ่งจากอาจเพิม่โอกาสของโรค

แทรกซอนที่รุนแรง เชน ตอหินเฉียบพลัน

12. ไมควรใหยาหยอดตา เน่ืองจากยาบางชนิดอาจทําใหอาการแยลงได

4. Corneal and 1. ซักประวัติเกี่ยวกับกลไกและสาเหตุการเกิดการบาดเจ็บเพื่อประเมินความรุนแรงซึ่ง

conjunctival อาจทําใหตาทะลุได เชนใชเครื่องตัดหญา หรือตอกตะป ู

foreign body 2. อาจวัด VA กอน โดยอาจไมจําเปนตองหยอดยาชา

3. การเอา foreign body ออก อาจทําไดเองในกรณีที่ไมฝงลึก หรืออยูในตําแหนงไม

อันตราย เชน ติดอยูที่เยื่อตา (conjunctiva) หากอยูที่กระจกตา (cornea) ไมควร

พยายามเอาออกเอง เพราะอาจทําใหกระจกตาเปนแผลมากขึ้นหรือ foreign body

ฝงลึกขึ้น

4. กอนทําการเอา foreign body ออก ควรหยอดยาชากอนทุก 5 นาทีจํานวน 2-3 ครั้ง

แลวเอา foreign body ออก ดวยวิธีตอไปนี้

4.1 ใช syringe 5 หรือ 10 ซีซี พรอมเข็ม ฉีดนํ้ําใหพุงเปนสายไปท่ีตําแหนงของ

foreign body เพื่อใชแรงดันนํ้ําชะเอา foreign body ออก โดยระวังไมฉีดใน

แนวที่อาจดันใหลึกลงไป

4.2 ใชไมพันสําลีเขี่ยออก

4.3 หากไมมั่นใจ ควรตามจักษุแพทย

4.4 หากเข่ียไมหมด ใหทาํเทาทีท่าํได แลวนดัมาเข่ียในวันตอไปเพราะ foreign body

จะข้ึนมาอยูตื้นกวาเดิม

5. หลงัจาก remove foreign body แลว ควรใหยา antibiotic eye drop eye ointment

ตอไปเพื่อปองกัน secondary infection

6. ไมควรปด pressure patch กรณ ีforeign body เปน organic material หรอื สกปรก

เชน ดิน, เศษไม, เศษหญา, เล็บ เปนตน

7. ไมควรปด pressure patch กรณีที่เขี่ยเอา foreign body ออก ไมหมดหรือไมแนใจ

เพราะอาจกดให foreign body ฝงลึกกวาเดิมได

8. ควรนัดผูปวยมาตรวจภายหลังใหการรักษาภายใน 24-48 ชั่วโมง

5. Traumatic optic 1. ควรตรวจ pupillary reaction ในผูปวยทุกรายท่ีสงสัย เชน มีประวัติ head injury

neuropathy โดยอาจสลบหรือไมก็ตาม

2. การตรวจวินิจฉัย traumatic optic neuropathy ดูจากการใชไฟฉายตรวจ Marcus

Gunn pupil (swinging fl ash light ทลีะตาโดยเปล่ียนขางโดยเร็ว เมือ่สองสองแลว

พบวา pupil ขางท่ีสงขยาย ใหนึกถึงภาวะน้ี )

3. ควรสงตอจักษุแพทย เพื่อการวินิจฉัยและรักษาตอไป

Page 26: บทที่1 - @@ Home - KKU Web Hosting · สัญญาในว ันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ.2542 แต เนื่องจากในช วงเกิดวิกฤตเศรษฐก

ภาวะฉุกเฉินและการดูแลรักษากอนสงตอ 27

Diagnosis Treatment and nursing care

6. ROP 1. สอบถามขอมูลดังตอไปนี้ กอนแจงจักษุแพทย

1.1 stage ของ ROP

1.2 on tube, respirator, O2 box หรือ room air

1.3 body weight

2. แจงกุมารแพทยเพื่อสอบถามเร่ืองความพรอมของเตียงและแพทยผูดูแล

6. ภาวะฉุกเฉินทางสูตินรีเวชกรรม

1. Acute pelvic pain 1. วัด vital signs ทุก 30 นาที

with peritonitis : 2. NPO

1.1 Twisted or 3. เปดเสนให IV fl uid เปน 5%D N/2 หรือหาก BP < 90/60 mmHg ให NSS หรือ LRS

ruptured ovarian load 200 ml ใน 15 นาที

cyst 4. สงตรวจทางหองปฏบิตักิาร ไดแก CBC, platelet, BUN/Cr, electrolyte, Anti HIV,

1.2 Ectopic UA, UPT, EKG (ถาอายุมากกวา 45 ป) เผื่อ tube สําหรับ group matching

pregnancy 5. เมื่อผูปวยมาถึงแจงแพทยเวรรับทราบ และยายผูปวยเขาหองตรวจภายใน ใหผูปวย

เปล่ียนชดุสาํหรบัตรวจภายใน ควรมเีจาหนาทีด่แูลผูปวยและวดั vital signs เปนระยะ

1.3 Acute PID ระหวางรอแพทย

2. Pregnancy with 1. ประเมินอายุครรภ

complication 2. ทํา ultrasound เพื่อประเมินนํ้ําหนักทารก, fetal growth, AFI, placenta

เชน severe 3. จัดใหผูปวยนอนพักบนเตียง

preeclampsia, 4. ใหความชวยเหลือและปองกันอันตรายจากการชัก หรือรักษาอาการชัก

HELLP syndrome, 5. งดนํ้ําและอาหาร

eclau pnia 6. เปดเสนดวย LRS

เปนตน 7. Retain Foley’ catheter

8. เจาะ CBC, platelet, BUN/Cr, LFT, PT, PTT, INR, urine strip (for albumin)

9. Start MgSO4 โดยให loading dose 20% MgSO

4 4 กรัม ฉีดเขาหลอดเลือดดํา

ชาๆ 50%MgSO4 10 กรัม ฉีดเขากลามเน้ือที่สะโพก แบงฉีดขางละ 5 กรัม

10. Maintenance 50%MgSO4 ฉดีเขากลามเนือ้สะโพกสลบัซายขวา 5 กรมั ทกุ 4 ชัว่โมง

11. เฝาตดิตามอัตราการหายใจ, DTR และ urine output ทกุ 4 ชัว่โมง หากมอีาการแสดง

ของพิษจาก magnesium ใหพิจารณาหยุดยา เจาะระดับ magnesium และให

calcium gluconate

12. หาก SBP ≥ 160 mmHg หรือ DBP ≥ 110 mmHg พิจารณาใหยาลดความดันโลหิต

โดยเลือกใช Labetalol หรือ Hydralazine

13. หากอายุครรภ < 34 สัปดาห ให Dexamethasone 6 mg IM ทกุ 12 ชั่วโมง x 4 ครั้ง

14. ตรวจการหดรัดตัวของมดลูก หาก in labor ตรวจภายในเพ่ือประเมินปากมดลูก

15. ฟง FHS เปนระยะ

Page 27: บทที่1 - @@ Home - KKU Web Hosting · สัญญาในว ันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ.2542 แต เนื่องจากในช วงเกิดวิกฤตเศรษฐก

28 ภาวะฉุกเฉินและการดูแลรักษากอนสงตอ

กระบวนการกอนสงตอผูปวย

1. โทรประสานพยาบาลศูนยประสานงานผูปวยสงตออุบัติเหตุฉุกเฉิน โทรศัพท 043-202478 กอนสงตอทุกราย

2. พยาบาลประจําศูนยฯ จะประสานไปที่หองคลอดเพ่ือใหแพทยผูที่จะสงตอผูปวยปรึกษาแพทยเวรสูติฯ

โดยตรง

3. แพทยเวรสูติฯปรึกษาอาจารยเวร และพิจารณาปรึกษากุมารแพทยหากมีขอบงชี้

4. แพทยเวรสูติฯตอบรับ แพทยเวรจะแจงพยาบาลประจาํศูนยประสานใหเตรียมรับผูปวย

5. เมื่อผูปวยมาถึง ใหสงผูปวยมาที่หองคลอดทันที พรอมกับพยาบาลนําสงและเอกสารการสงตอ

6. เอกสารท่ีตองเตรียม ควรประกอบดวย

6.1 เอกสารการสงตอผูปวยท่ีระบุถึงอาการสําคัญ ระยะเวลา ความรุนแรงการเปล่ียนแปลงของอาการ/ความ

รุนแรง สิ่งที่คาดวาจะเปนสาเหตุ ผลการตรวจรางกายโดยละเอียด และประวัติการตั้งครรภ สาเหตุของ

การสงตอ

6.2 สําเนาผลการตรวจทางเอ็กซเรยและหองปฏิบัติการที่เก่ียวของ

6.3 สมุดฝากครรภ (ถามี)

6.4 Procedureที่ทํามากอนหนา (ถามี)

6.5 เอกสารประกอบการใชสิทธิคารักษาพยาบาล เชน บัตรประชาชน หรือสําเนาทะเบียนบาน บัตรทอง

บัตรประกันสังคม ใบสงตัวที่รับรองการเรียกเก็บ เปนตน

7. ภาวะฉุกเฉินทางกุมารเวชศาสตร

7.1 แนวปฏิบัติในการสงตอผูปวยเด็กโต

Diagnosis Treatment and nursing care

1. ผูปวยเด็กที่ใสทอชวย 1. สงตอขอมูลการรักษา อาการลาสุด และ vital signs ลาสุดกับกุมารแพทยผูรับสงตอ

หายใจและ/หรือมี 2. สรปุประวตักิารรกัษา และสงผลการตรวจทางหองปฏิบตักิาร รวมทัง้ภาพถายทางรงัสี

อาการไมคงที่ มากับผูปวยทุกคร้ัง

(hemodynamic 3. ระหวางเดินทาง ตองมีอุปกรณชวยชีวิตครบถวน เชน ทอชวยหายใจ ยาฉุกเฉิน

instability) ไดแก 4. มีเครื่องมือในการติดตามสัญญาณชีพ ประกอบดวยเคร่ืองจับ SpO2 เครื่องวัดความ

- Poor tissue ดันโลหิต

perfusion (capillary 5. ตองมีแพทยหรือบุคลากรทางการแพทยที่สามารถใสทอชวยหายใจและใหการดูแล

refi lls < 2 sec) ผูปวยฉุกเฉินในระยะวิกฤต รวมเดินทางมากับผูปวย

- SpO2 < 92% 6. สามารถตดิตอส่ือสารกบักุมารแพทยผูรบัสงตอไดตลอดเวลา เพ่ือรบัทราบขอมูลหาก

- ใช inotropic drug ผูปวยมีอาการเปล่ียนแปลง

7. ตรวจสอบตําแหนงของทอชวยหายใจทุกครั้งที่มีการเคล่ือนยายผูปวย

8. ตรวจสอบยา, infusion pump, ถังออกซิเจน, แบตเตอร่ีสํารองวาเพียงพอในการสง

ตอผูปวยจนถึงจุดหมายปลายทาง

9. หากผูปวยมีความเส่ียงของภาวะเลือดออกรุนแรง ตองสงเลือดสํารองมากับผูปวย

ดวยเสมอ

10. ในกรณีที่ระหวางเดินทาง ผูปวยมีอาการเปลี่ยนแปลง ตองรายงานอาการใหแพทย

เจาของไขและกุมารแพทยผูรับสงตอทราบทันที เพื่อใหการดูแลรักษาอยางทันทวงที

11. ตองมผีูปกครองทีท่ราบขอมลูการเจบ็ปวยและสามารถลงช่ือรบัรองการรักษาเพิม่เตมิ

เดินทางมาพรอมกับผูปวยทุกครั้ง

Page 28: บทที่1 - @@ Home - KKU Web Hosting · สัญญาในว ันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ.2542 แต เนื่องจากในช วงเกิดวิกฤตเศรษฐก

ภาวะฉุกเฉินและการดูแลรักษากอนสงตอ 29

Diagnosis Treatment and nursing care

2. ผูปวยเด็กทั่วไป 1. สงตอขอมูลการรักษา อาการลาสุด และ vital signs ลาสุดกับกุมารแพทยผูรับสงตอ

ที่มีอาการคงท่ี 2. ระหวางเดินทาง ตองมีอุปกรณชวยชีวิตครบถวน เชน ทอชวยหายใจ ยาฉุกเฉิน

3. ตองมบีคุลากรทางการแพทยทีส่ามารถใสทอชวยหายใจและใหการดแูลผูปวยฉกุเฉนิ

ในระยะวิกฤต รวมเดินทางมากับผูปวย

4. สามารถตดิตอส่ือสารกบักุมารแพทยผูรบัสงตอไดตลอดเวลา เพ่ือรับทราบขอมูลหาก

ผูปวยมีอาการเปล่ียนแปลง

5. ตรวจสอบยา, infusion pump, ถังออกซิเจน, แบตเตอร่ีสํารองวาเพียงพอในการสง

ตอผูปวยจนถึงจุดหมายปลายทาง

6. ในกรณีที่ระหวางเดินทาง ผูปวยมีอาการเปลี่ยนแปลง ตองรายงานอาการใหแพทย

เจาของไขและกุมารแพทยผูรับสงตอทราบทันที เพื่อใหการดูแลรักษาอยางทันทวงที

7. ตองมผีูปกครองทีท่ราบขอมลูการเจบ็ปวยและสามารถลงช่ือรบัรองการรักษาเพิม่เตมิ

เดินทางมาพรอมกับผูปวยทุกครั้ง

7.2 แนวปฏิบัติในการสงตอทารกแรกเกิด

7.2.1 ขอบงชี้การสงตอทารกแรกเกิดและการประสานงาน

โรงพยาบาลชุมชุน โรงพยาบาลจังหวัด โรงพยาบาลศูนย

1. APGAR score ที่ 5 นาที < 7 2. มีภาวะหายใจลําบาก 3. ไมมี incubator/radiant warmer 4. มีภาวะเขียวหรือฟงเสียงหวัใจ ผิดปกติ 5. มีความพิการแตกําเนิดหลายชนิด รวมทั้งที่จําเปนตองทําการผาตัด เชน imperforate anus, gastroschisis, omphalocele, duodenal atresia เปนตน 6. มีภาวะชัก /ช็อก /ซีด 7. มีภาวะเหลืองเร็วหรือเหลือง

รวมกับภาวะซีดลง (Hct < 45 %)

1. มีภาวะหายใจลําบากรุนแรงและ ไมมเีครือ่งชวยหายใจสําหรบัทารก 2. สงสัย persistent pulmonary hypertention (PPHN) 3. ไมม ีincubator/radiant warmer 4. มีภาวะเขียวจากโรคหัวใจพิการแต กําเนิด 5. มีความพิการแตกําเนิดหลายชนิด รวมทั้งที่จําเปนตองทําการผาตัด เชน imperforate anus, gastroschisis,omphalocele, duodenal atresia เปนตน 6. มีภาวะชักและไมตอบสนองตอยา กันชัก (อาจจะหยุดชักช่ัวคราว) 7. มีภาวะตัวเหลืองมากจําเปนตองได รับการถายเลือด แตไมสามารถหา เลือดได

1. มภีาวะหายใจลาํบากรนุแรงและไม มีเครื่องชวยหายใจสําหรบัทารก 2. กรณี persistent pulmonary hypertention (PPHN) รุนแรง แตไมมีเตียง ICU หรือไมมีเครื่อง ชวยหายใจชนิด high frequency ventilator 3. ไมมี incubator/radiant 4. มภีาวะเขยีวจากโรคหวัใจพกิารแต กําเนิดซ่ึงจําเปนตองไดรับการผาตัด หัวใจ (cardiovascular interven tion) ดวน 5. มีความพิการแตกําเนิดหลายชนิด รวมท้ังท่ีจําเปนตองทําการผาตัด เชน imperforate anus, gastro schisis, omphalocele, duo denal atresia เปนตน แตไมมี กุมารศัลยแพทย 6. จําเปนตองรับไวรักษาใน ICU เพื่อ การดูแลอยางใกลชิดแตไมมีเตียง เชน หลังผาตัด diaphragmatic hernia,TE-fi stula

Page 29: บทที่1 - @@ Home - KKU Web Hosting · สัญญาในว ันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ.2542 แต เนื่องจากในช วงเกิดวิกฤตเศรษฐก

30 ภาวะฉุกเฉินและการดูแลรักษากอนสงตอ

2. ความลึกของทอชวยหายใจ ตําแหนงที่มุมปาก (ซม.) = 6 + นํ้ําหนัก (กิโลกรัม)

3. การตัดทอชวยหายใจ ตัดทอชวยหายใจใหเหลือ 4 เซนติเมตรจากมุมปาก

เพื่อชวยลด dead space ปองกันการเล่ือนหลุด

4. การปองกันไมใหทอชวยหายใจเลื่อนหลุด 1. ใชนิว้มอืยึดจบัทอชวยหายใจตรงมมุปากใหอยูคง

ที่ในตําแหนงเดิมตลอดเวลาขณะเคล่ือนยาย

2. ติดพลาสเตอรเพื่อยึดทอชวยหายใจกับริมฝปาก

แบบรูปตัว Y

7.2.2 การดูแลรักษากอนสงตอ

7.2.2.1 ใสทอชวยหายใจกรณีมีการหายใจลมเหลว

7.2.2.2 ตรวจสอบขนาดและความลึกของทอชวยหายใจ ฟงเสียงลมหายใจเทากันดีในปอดท้ังสองขาง การเตน

ของหัวใจและความอ่ิมตัวของออกซิเจนในเลือดดี

7.2.2.3 ใหสารนํ้ํา 10 %D/W 60 ml/kg/day ในวันแรกหลังเกิด ใช syring pump หรือ infusion pump และ

ใหบันทึกวัน เวลาและจํานวนการใหสารนํ้ํา รวมทั้งการรักษาอ่ืนๆ ที่ไดรับมาดวย

7.2.2.4 ตดิตามการเตนของหัวใจและความอ่ิมตวัของออกซิเจนในเลือดตลอดการเดินทาง ถาไมมเีครือ่ง pulse

oxymeter ใหดูสีผิวและจับชีพจรทารกเปนระยะตลอดการเดินทาง

7.2.2.5 วัดอุณหภูมิ (เตรียมมาในรถดวย)

7.2.2.6 ควบคุมการไดรับสารนํ้ําใหไดตามกําหนด

7.2.2.7 ตรวจสอบเคร่ืองดูดเสมหะและชุดอุปกรณดูดเสมหะใหพรอม

7.2.2.8 เตรยีมอปุกรณในการใหออกซเิจนและชวยหายใจ ไดแก ทอและมาตรวดัออกซเิจน ขวดนํ้าํใหความชืน้,

oxygen box, ambu bag และ mask เปนตน

7.2.2.9 เตรียมกระเปายาท่ีจาํเปนในการชวยฟนคืนชีพทารกแรกเกิด (newborn resuscitation) ตามมาตรฐาน

การชวยฟนคืนชีพทารกแรกเกิด

7.2.2.10 บุคลากรท่ีนําสงทารกแรกเกิด ควรเปนพยาบาลวิชาชีพหรือแพทย

7.3 แนวทางการรักษาพยาบาลทารกแรกเกิดขณะสงตอ

ระบบ กิจกรรม/หัตถการ แนวทางการปฏิบัติ

ระบบหายใจ

(respiratory

system)

1. ใสทอชวยหายใจ ตามขอบงชี้ ดังน้ี

1.1 นํ้ําหนักนอยกวา 1000 กรัม

1.2 APGAR ที่ 5 นาที < 7

1.3 หอบ หายใจลําบาก มีเสียงดังขณะ

หายใจออก

1.4 เขียว/หยุดหายใจ

1.5 หายใจหอบและ SpO2 < 92% ขณะได

รับออกซิเจน

1. ขนาดทอชวยหายใจ

1.1 ทารกนํ้ําหนัก < 1,000 กรมั ขนาดทอเบอร 2.5

1.2 ทารกนํ้ําหนัก 1,000-2,000 กรัม ขนาดทอ

เบอร 3.0

1.1 ทารกนํ้ําหนัก > 2,000 กรมั ขนาดทอเบอร 3.5

2. ใสทอชวยหายใจพรอมบีบ ambu bag ที่ตอกับ

ออกซิเจนและ reservoir bag เพ่ือเพ่ิมความเขมขน

ของออกซิเจน โดยบีบในอัตรา 40-60 ครั้ง/นาที

และสังเกตการขยายตัวของทรวงอกใหพอเหมาะ

3. วัดสัญญาณชีพ และคา SpO2 โดยใหคา SpO

2

อยูระหวาง 92-95 %

Page 30: บทที่1 - @@ Home - KKU Web Hosting · สัญญาในว ันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ.2542 แต เนื่องจากในช วงเกิดวิกฤตเศรษฐก

ภาวะฉุกเฉินและการดูแลรักษากอนสงตอ 31

ระบบ กิจกรรม/หัตถการ แนวทางการปฏิบัติ

5. การบีบ ambu bag ระหวางเดินทาง 1. ใช self infl ating bag ขนาด 250 ซีซี

เพื่อปองกันการเกิด pneumothorax

2. ใชแรงในการบีบใหสมํ่ําเสมอประมาณ 40-60

ครั้ง/นาที

3. สังเกตการขยายตัวขงทรวงอกใหพอเหมาะ

คือ มากกวาการหายใจปกติเล็กนอย

4. ฟงเสยีงลมทีป่อดและตรวจสอบตําแหนงทอชวย

หายใจทุก 15-30 นาที ขณะเคล่ือนยายการควบคุม

อุณหภูมิกาย (temperature control) ใหความ

อบอุนทารกขณะเคล่ือนยาย

ใหความอบอุนทารกขณะเคลื่อนยาย 1. ใช transport incubator เพื่อใหความอบอุนใน

การเคล่ือนยายทารกโดยปรับอุณหภูมิตาม

neutral thermal environment

2. ถาไมมี transport incubator ใหใชถุงถ่ัวเขียว

(ถงุถัว่เขยีวจะยงัคงความรอนทีส่ามารถใหความ

อบอุนแกทารกขณะเคล่ือนยายไดในระยะเวลา

2 ชั่วโมง)

3. ปรับเครื่องปรับอากาศในรถสงตอระดับตํ่ําสุด

(low / level 1) และไมใหลมถูกตัวทารก

1. ตรวจนับอตัราการเตนของหัวใจ ใชหูฟง (stethoscope) ขนาดเล็กฟงเสียงและ

นับอัตราการเตนของหัวใจ 1 นาที อัตราการเตน

ของหัวใจควรอยูในชวง 120-160 ครั้ง/นาที

2. การวัดความดันโลหิต 1. กรณเีครือ่งวดัความดนัโลหติอตัโนมตั ิใหวดักอน

สงตอ และควรไดคา mean arterial blood

pressure = อายุครรภของทารก (GA) + (3-5)

mmHg หรือ

BW < 1,000 กรัม keep SBP ≥ 45 mmHg

BW 1,000-2,000 กรัม keep SBP ≥ 50 mmHg

BW > 2,000 ≤ 3,000 กรัม keep SBP ≥ 55

mmHg

BW > 3,000 กรัม keep SBP ≥ 60 mmHg

หากไมมีอุปกรณใหจับชีพจรเพื่อประเมินความ

แรงของชีพจร และประเมิน capillary refi ll time

โดยกดผวิหนังบรเิวณหนาอกเปนระยะ และควร

มีคาไมเกิน 2-3 วินาที

การควบคุม

อุณหภูมิกาย

(tempera

ture control)

ระบบหัวใจ

และ

หลอดเลือด

(cardiovas-

cular

system)

Page 31: บทที่1 - @@ Home - KKU Web Hosting · สัญญาในว ันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ.2542 แต เนื่องจากในช วงเกิดวิกฤตเศรษฐก

32 ภาวะฉุกเฉินและการดูแลรักษากอนสงตอ

กรณีความดันโลหิตตํํ่ําหรือ 1. ให 0.9 % NSS 10 ml/kg IV drip in ½ - 1 hr.

poor perfusion ถาไมมีนํ้ําตาลในเลือดตํ่ํํา

2. หากไมดีขึ้น ให dopamine 5-20 ug/kg/min.

ผสมใน 5%D/W หรอื 10%D/W 10 ml IV drip

ระบบประสาท สังเกตการรูสติและอาการชัก ถามีอาการชัก ใหยา Phenobarbital 20 mg/kg IV

push ชาๆ ใน 5-10 นาที ถายังมีอาการชักสามารถ

ใหยาเพิม่ไดครัง้ละ 5 mg/kg/dose ทัง้หมดไมเกนิ

40 mg/kg ถายงัไมหยุดชกัใหยา Phenytoin 15-20

mg/kg IV drip ในเวลา 30 นาที

เมตาบอลิสม 1. ประเมินระดับนํ้ําตาลในเลือด 1. ตรวจระดับนํ้ําตาลในเลือดกอนสงตอ

(metabolism) 2. ประเมินคา Hct 2. กรณไีมเรงดวนมากใหเจาะ Hct และ DTX กอน

สงตอ

การใหสารนํ้ํา/ 1. การใส umbilical vein catheter (UVC) 1. การใส UVC ใหใสเปน pre-hepatic

การใส UVC (ตําแหนงที่ดูดเลือดออกมาไดสะดวก ซึ่งดาน

หลงัมักจะไมเกิน 3-5 ซม. จากระดบัโคนสะดอื)

เพื่อปองกันไมใหปลายสายไปอยูใน

hepatic vein

2. การผูกหรือเย็บติดสะดือ 1. ผกูหรอืเยบ็บรเิวณสะดอืกบัสาย UVC ใหแนใจ

วาไมมีเลือดออกและไมใหเล่ือนหลุดงาย

2. ระหวางเดินทางใหตรวจสอบวามีเลือดซึมออก

จากสะดือหรือไม

3. การใหสารนํ้ํา 1. ใชเครือ่ง syring pump ในการควบคมุการไหล

ของสารนํ้ํา

2. กรณีไมมีเครื่อง ควรใช IV set ชนิด 60 หยด/

มล. นอกจากนี้ตลอดการเดินทางใหตรวจสอบ

การไหลของสารนํ้ําและปริมาณนํ้ําที่ทารกไดรับ

ตามอัตราที่ทารกควรไดทุก 15-30 นาที พรอม

ทั้งบันทึกปริมาณสารนํ้ําที่ทารกไดรับตั้งแตตน

จนถึงปลายทางดวย

3. หากไมใส UVC ใหเปดหลอดเลือดดําดวยเข็ม

angiocatheter เบอร 24

ทารกท่ีตอง การเตรียมกอนยายและการเตรียมกอนผาตัด 1. ให vitamin K1 1 mg ฉีดเขาหลอดดํา

สงไปรับการ 2. ควรเจาะเลอืดมารดาใสหลอด EDTA สงมาพรอม

ผาตัดเรงดวน กบัทารก เน่ืองจากในการเตรียมเลอืดเพ่ือผาตดั

อาจพบปญหาเกีย่วกบั blood group incompat

ibility จากแอนติบอดี้ของมารดา

ระบบ กิจกรรม/หัตถการ แนวทางการปฏิบัติ

Page 32: บทที่1 - @@ Home - KKU Web Hosting · สัญญาในว ันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ.2542 แต เนื่องจากในช วงเกิดวิกฤตเศรษฐก

ภาวะฉุกเฉินและการดูแลรักษากอนสงตอ 33

ระบบ กิจกรรม/หัตถการ แนวทางการปฏิบัติ

3. ใหบิดาหรือมารดามาพรอมผูปวยเพ่ือรับทราบ

ขอมูลและเซ็นใบอนุญาตยินยอมกอนผาตัด

4. ใหสารนํ้ําทดแทนใหเพียงพอ เชน ทารกท่ีเปน

gastroschisis จาํเปนตองไดรบัสารนํ้าํเพิม่มาก

เน่ืองจากม ีinsensible water loss ปริมาณมาก

5. ใหการดูแลกอนหรืออวัยวะท่ีโผลอกมานอก

รางกาย ดังนี้

5.1 Exposed neural tissue เชน

encephalocele, meningomyelocele,

myelocele

ใหคลุมกนดวยผากอสปลอดเชื้อชุบ NSS

อุน ถากอนอยูดานหลังใหเด็กนอนควํํ่ํา

ระวงัไมใหเนือ้เยือ่ทีค่ลมุกอนรัว่หรอืฉกีขาด

เพราะจะทําใหเกิดการติดเช้ือ

5.2 Exposed bowel ระวังไมใหมีการดึงรั้ง

ลาํไสและอวยัวะภายในทีย่ืน่ออกมา ถาเปน

gastroschisis ใหคลุมดวยผากอสปลอด

เชือ้ทีช่บุ NSS อุน และควรใชผาลนินิสะอาด

พนัรอบทองหลายชัน้ หรอืใชแผนพลาสตกิ

ใสชนิดออนพันรอบทองหลายชั้นเพื่อ

ปองกันการสูญเสียความรอน และจัดให

ลําไสอยูตรงกลางหนาทองของทารก (เพื่อ

ปองกนัการกดทับหลอดเลือดท่ีไปเล้ียงลําไส)

รวมทั้งไมพันปดรูทวารหนัก

6. ผูปวยที่มี esophageal atresia with

tracheoesophageal fi stula

6.1 ใหจัดทาใหผูปวยนอนหงายศีรษะสูง 45

องศา และใสสาย orogastric tube (OG

tube) เปดปลายสายไวใหระบายนํ้าํลายหรอื

เสมหะจากหลอดอาหารสวนตนตลอดเวลา

เพ่ือปองกันการสูดสําลักและ aspiration

pneumonia

6.2 ใส OG tube กอนสงตอผูปวย โดยใสสาย

สวนขนาด 8 Fr ในทารกเกิดกอนกําหนด

หรือ 10 Fr ในทารกครบกําหนด เปดสาย

สวนไวตลอดเวลาเพ่ือระบายลมและนํ้ําจาก

กระเพาะอาหาร และควรใช syringe ดดูทุก

15-20 นาที

Page 33: บทที่1 - @@ Home - KKU Web Hosting · สัญญาในว ันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ.2542 แต เนื่องจากในช วงเกิดวิกฤตเศรษฐก

34 ภาวะฉุกเฉินและการดูแลรักษากอนสงตอ

7.4 การดูแลขณะสงตอผูปวยเด็กโรคโลหิตวิทยา

Diagnosis Treatment and nursing care

1. โรคมะเร็งเม็ดเลือดขาว 1. รักษาระดับเกล็ดเลือดใหไมนอยกวา 20,000 cells/cu.mm

ที่มีปริมาณมากกวา 2. ใหสารนํ้ํา 125 ml/m2/hr จนปริมาณปสสาวะออกมากกวาหรือเทากับ 3 ml/kg/hr

100,000 cells/cu.mm หรือความถวงจําเพาะของปสสาวะประมาณ 1.015

3. ให 7.5% NaHCO3 ในสารนํ้ําจนปสสาวะมี pH 7-7.5

4. ให allopurinol 10 mg/kg/day เพือ่ปองกันภาวะยรูกิในเลอืดสงูซึง่อาจกอใหเกิดภาวะ

ไตวายได

5. อธิบายภาวะโรคเบ้ืองตนใหครอบครัวของผูปวยทราบ สาเหตุและเหตุผลที่ตองสงตัว

ผูปวยตอ

2. ผูปวยเด็กที่มีปญหา 1. ภาวะเลือดออกไมหยุดทีอ่าจกอใหเกดิการเสียชวีติ เชน เลอืดออกในสมอง หรือเลือด

เลือดออกไมหยุด ออกภายใน จาํเปนตองใหผูปวยอยูในภาวะทีป่ลอดภยั เชน ความดนัโลหติอยูในเกณฑ

คงที่

2. ใหการรักษาเบื้องตนเพ่ือหยุดเลือดออก เชน เลือดกําเดาสามารถทํา nasal packing,

เลอืดออกตามไรฟน ใหผูปวยกัด gauze ชบุ adrenaline หรอือม transxaemic acid

3. ผูปวยฮีโมฟเลียเอหรือบี ผูปวยมี factor VIII หรือ IX concentrate เก็บไว สามารถ

ถามผูปกครองของผูปวยและใหผูปวยกอนสงตัวมาโดยให factor VIII 50 units/kg

หรือ factor IX 80 units/kg หรือถามี prothrombin complex concentrate ใหใน

ขนาด 50-100 mg/kg/dose ไมเกินขนาด 200 mg/kg/day

4. ในรายที่สงสัยภาวะเกล็ดเลือดตํํ่ําจากภาวะ immune thrombocytopenia ใหยา

prednisolone ขนาด 3-4 mg/kg/day เปนเวลา 4 วัน แลวทําการติดตามระดับเกล็ด

เลือด 48 ชั่วโมงหลังจากให prednisolone ถาระดับเกล็ดเลือดมากกวาหรือเทากับ

30,000 cells/cu.mm ใหผูปวยกลับบานได ถาจํานวนเกล็ดเลือดไมเพิ่มข้ึนและยังมี

เลือดออกควรทําการสงตัวผูปวยเพ่ือการรักษาตอ

5. โทรศพัทตดิตอกับแพทยประจาํบานเพือ่บอกหมูเลอืดของผูปวย ซึง่จะไดทาํการเตรยีม

fresh frozen plasma หรือเกล็ดเลือด factor concentrate ไวใหทันผูปวยมาถึง

Page 34: บทที่1 - @@ Home - KKU Web Hosting · สัญญาในว ันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ.2542 แต เนื่องจากในช วงเกิดวิกฤตเศรษฐก

ภาวะฉุกเฉินและการดูแลรักษากอนสงตอ 35

เพือ่การดแูลรกัษาตอผูปวยกมุารเวชศาสตรไดอยางมปีระสทิธภิาพ จงึใครขอใหเตรยีมเอกสารและขอมลูทีจ่าํเปน

ดังนี้

1. สงตอขอมูลการรักษา อาการลาสุด และ vital signs ลาสุดกับกุมารแพทยผูรับสงตอ

2. สรุปประวัติการรักษา และสงผลการตรวจทางหองปฏิบัติการ รวมทั้งภาพถายทางรังสีมากับผูปวยทุกครั้ง

3. เตรียมเลือดมารดามาดวยทุกครั้ง

4. ระหวางเดินทาง ตองมีอุปกรณชวยชีวิตครบถวน เชน ทอชวยหายใจ ยาฉุกเฉิน

5. มีเครื่องมือในการติดตามสัญญาณชีพ ประกอบดวยเคร่ืองวัด SpO2 เครื่องวัดความดันโลหิต

6. รักษาอุณหภูมิกายของผูปวยใหคงที่

7. ตองมแีพทยหรือบคุลากรทางการแพทยทีส่ามารถใสทอชวยหายใจและใหการดูแลผูปวยฉกุเฉินในระยะวกิฤต

รวมเดินทางมากับผูปวย

8. สามารถตดิตอสือ่สารกบักมุารแพทยผูรบัสงตอไดตลอดเวลา เพือ่รบัทราบขอมูลหากผูปวยมอีาการเปลีย่นแปลง

9. ตรวจสอบตําแหนงของทอชวยหายใจทุกครั้งที่มีการเคล่ือนยายผูปวย

10. ตรวจสอบยา, infusion pump, ถังออกซิเจน, แบตเตอรี่สํารองวาเพียงพอในการสงตอผูปวย

11. หากผูปวยมีความเสี่ยงของภาวะเลือดออกรุนแรง ตองสงเลือดสํารองมากับผูปวยดวยเสมอ

12. ในกรณีที่ระหวางเดินทาง ผูปวยมีอาการเปล่ียนแปลง ตองรายงานอาการใหแพทยเจาของไขและกุมารแพทย

ผูรับสงตอทราบทันที เพื่อใหการดูแลรักษาอยางทันทวงที

13. ตองมีผูปกครองที่ทราบขอมูลการเจ็บปวยและสามารถลงชื่อรับรองการรักษาเพิ่มเติม เดินทางมาพรอมกับ

ผูปวยทุกครั้ง

Page 35: บทที่1 - @@ Home - KKU Web Hosting · สัญญาในว ันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ.2542 แต เนื่องจากในช วงเกิดวิกฤตเศรษฐก

โรคและการสงตรวจพิเศษท่ีพบบอย 37

โรคท่ีสามารถสงตอโรงพยาบาลศรีนครินทรไดโดยตรงโดยไมผานโรงพยาบาลขอนแกน

จากขอตกลงของสํานักงานสาธารณสุขจังหวัดขอนแกนรวมกับโรงพยาบาลขอนแกน เม่ือเดือนมกราคม 2554 เรื่อง

โรคทีส่ามารถสงผาน (bypass) มาโรงพยาบาลศรนีครนิทรไดโดยตรง โดยไมผานโรงพยาบาลขอนแกน ทัง้กลุมผูปวยฉกุเฉนิ

และไมฉกุเฉิน ซึง่เปนโรคท่ีตองรับไวรกัษาในโรงพยาบาลหรือสามารถรักษาและหาสาเหตุแบบผูปวยนอกได เปนโรคท่ีตองการ

การดูแลเชื่อมโยงแบบสหสาขา และเปนโรคท่ีวินิจฉัยยาก แตตองผานการพิจารณาจากแพทย ผูเชี่ยวชาญ หรือมีใบนัดจาก

โรงพยาบาลศรีนครินทร/ศูนยหัวใจสิริกิติ์ ซึ่งมี 33 โรค ดังนี้

1. โรคมะเร็งที่ไดรับการวินิจฉัยแลว และตองรักษาดวยการฉายรังสี (radiotherapy)

2. โรคของตอมไทรอยด (thyroid disease) ที่ตองรักษาดานเวชศาสตรนิวเคลียร (nuclear medicine)

3. โรคหัวใจหรือโรคปอดหรือโรคหลอดเลือดหัวใจ ที่ตองไดรับการรักษาดวยการผาตัด (open thoracotomy)

หรือตองทํา CAG โดยมีการพิจารณาจากผูเชี่ยวชาญ หรือมีใบนัดจากโรงพยาบาลศรีนครินทร (ยกเวน echo

cardiogram)

4. Acute coronary syndrome (ACS) ที่ผานการรักษาจากอายุรแพทยแลว

5. Cyanotic heart disease in newborn < 2 สัปดาห

6. CA lung และ mediastinum ที่ทราบการวินิจฉัยแนนอนแลว

7. โรคของ TMJ หรือระบบการเค้ียวอาหารท่ีตองรักษาดวยการใส occlusal splint

8. เด็กเล็กอายุนอยกวา 2 ป หรือเด็กที่มีปญหา mental retardation ที่มีฟนผุทั้งปาก และตองบูรณะฟนภายใต

การดมยาสลบ

9. Laryngotracheal stenosis

10. Aneurysm intraabdomen

11. Aneurysm, AVM ของโรคหลอดเลือดสมอง

12. โรคหลอดเลือดหัวใจตีบที่ตองรักษาดวยการผาตัดและการใชบอลลูน (CABG, PCI)

13. โรคที่ตองรักษาดวยสารกัมมันตภาพรังสี เชน ผูปวยคอพอกเปนพิษที่รักษาดวยยาไมไดผล

14. โรคมะเร็งปอด (ที่ทราบการวินิจฉัยแนนอนแลว) ที่ตองรักษาดวย เคมีบําบัด, surgery radiation (adjuvant

therapy)

15. การตรวจพิเศษหลอดเลือด (angiography)

16. การตรวจคล่ืนไฟฟาสมอง (EEG)

17. การตรวจคล่ืนไฟฟาของกลามเนื้อและประสาท (EMG)

18. Teratocarcinoma ในเด็ก

19. Endodermal sinus tumor ในเด็ก

20. Malignancy ที่ตองการทํา bone marrow transplantation, NHL stage 3,4 ในเด็ก

21. Obesity in childhood

4โรคและการสงตรวจพิเศษที่พบบอย

บทท่ี

Page 36: บทที่1 - @@ Home - KKU Web Hosting · สัญญาในว ันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ.2542 แต เนื่องจากในช วงเกิดวิกฤตเศรษฐก

38 โรคและการสงตรวจพิเศษที่พบบอย

22. กลุมผูปวยที่สงสัย growth hormone defi ciency

23. Inborn error metabolism

24. Storage disease in newborn

25. Congenital immune defi ciency

26. Thalassemia ที่ตองใชยาขับเหล็ก

27. โรคที่ตองตรวจวัดระดับฮอรโมน เชน ตัวเตี้ย (short stature)

28. Retinal detachment

29. Severe PDR

30. Severe posterior segment trauma

31. Intraoccular foreign body

32. Ocular malignancy เชน retinoblastoma

33. Permanent pacemaker ที่วินิจฉัยแลวเปน primary heart block

จากทั้ง 33 โรคดังกลาว สามารถจัดกลุมโรคหรือการตรวจพิเศษตามสาขาวิชาที่ใหบริการได ดังนี้

1. สาขาวิชาศัลยศาสตร ไดแก

1.1 ศัลยศาสตรทรวงอก (CVT) ไดแก

1.1.1 โรคหัวใจหรือโรคปอดหรือโรคหลอดเลือดสมองท่ีตองไดรบัการรักษาดวยการผาตดั (open thora-

cotomy) โดยมีการพิจารณาจากผูเชี่ยวชาญหรือมีใบนัดจากโรงพยาบาลศรีนครินทร (ยกเวน echocardiogram)

1.1.2 CA lung หรือ mediastinum ที่ทราบการวินิจฉัยแนนอนแลว

1.1.3 โรคหลอดเลือดหัวใจตีบที่ตองรักษาดวยการผาตัดหรือการใชบอลลูน (CABG, PCI)

1.1.4 Aneurysm intraabdominal

1.2 ศัลยศาสตรระบบประสาท (neuro surgery) ไดแก aneurysm หรือ AVM ของหลอดเลือดสมอง

1.3 ศัลยศาสตรตกแตง (Plastic surgery) ไดแก โรคของ TMJ หรือระบบเค้ียวอาหารท่ีตองรักษาดวยการใส

occlusal splint

2. สาขาวิชาอายุรศาสตร ไดแก

2.1 อายุรศาสตรโรคหัวใจ (cardiology) ไดแก

2.1.1 โรคหัวใจหรือโรคปอดหรือโรคหลอดเลือดหัวใจที่ตองรักษาดวยการผาตัด (open thoracotomy)

หรือตองทํา CAG โดยมีการพิจารณาจากแพทยผูเชี่ยวชาญ หรือมีใบนัดจากโรงพยาบาลศรีนครินทร (ยกเวน echocardio-

gram)

2.1.2 Acute coronary syndrome (ACS) ที่ผานการรักษาจากอายุรแพทยแลว

2.1.3 โรคหลอดเลือดหัวใจตีบที่ตองรักษาดวยการผาตัดและการใชบอลลูน (CABG, PCI)

2.1.4 Permanent pacemaker ที่วินิจฉัยแลวเปน primary heart block

2.2 อายรุศาสตรระบบประสาท (neurology) ไดแก ผูปวยโรคหลอดเลอืดสมองทีเ่ขาเกณฑ stroke fast track

ผูปวยที่สงตรวจคล่ืนไฟฟาสมอง (EEG)

2.3 อายุรศาสตรโรคมะเร็ง (oncology) ไดแก

2.3.1 โรคมะเร็งปอด (ที่ทราบการวินิจฉัยแนนอนแลว) ที่ตองไดรับการรักษาดวย adjuvant therapy

(CMT, surgery, radiation)

2.4 อายุรศาสตรโรคเลอืด (hematology) ไดแก malignancy ทีต่องการทาํ bone marrow transplantation,

Page 37: บทที่1 - @@ Home - KKU Web Hosting · สัญญาในว ันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ.2542 แต เนื่องจากในช วงเกิดวิกฤตเศรษฐก

โรคและการสงตรวจพิเศษท่ีพบบอย 39

NHL stage 3,4

3. สาขาวิชาโสต ศอ นาสิกวิทยา ไดแก laryngotracheal stenosis

4. สาขาวิชาจักษุวิทยา ไดแก

4.1 Retinal detachment

4.2 Severe proliferative diabetic retinopathy

4.3 Severe posterior segment trauma

4.4 Intraocular foreign body

4.5 Ocular malignancy เชน retinoblastoma

5. สาขาวิชารังสีวิทยา

5.1 รังสีรักษา ไดแก โรคมะเร็งที่ไดรับการวินิจฉัยแลวและตองไดรับการรักษาดวยรังสีรักษา

5.2 รังสีวินิจฉัย ไดแก การตรวจพิเศษหลอดเลือด (angiography)

5.3 เวชศาสตรนิวเคลียร ไดแก thyroid disease ที่ตองไดรับการรักษาดวย nuclear medicine

6. สาขาวิชาวิสัญญีวทิยา ไดแก

6.1 เด็กเล็กที่อายุนอยกวา 2 ป หรือเด็ก mental retard ที่มีฟนผุทั้งปากและตองบูรณะฟนภายใตการ

ดมยาสลบ

6.2 Laryngotracheal stenosis

7. สาขาวิชาเวชศาสตรฟนฟ ู ไดแก การตรวจคลื่นไฟฟาของกลามเน้ือและเสนประสาท (EMG)

ขั้นตอนการสงตอผูปวยมะเร็งเพื่อนัดคิวฉายรังสี

1. ผูปวยและญาติผูปวยถือใบสงตัวมาท่ีโรงพยาบาลศรีนครินทร

2. ติดตอพยาบาลดานหนายื่นใบสงตัวและรับคําแนะนําขั้นตอนการใชบริการ

3. ทําบัตร/ยื่นบัตรที่งานเวชระเบียน

4. ติดตอเจาหนาที่หองตรวจรังสีรักษา ชั้นใตดิน

5. พบแพทย และนัดคิวฉายรังสี

6. มาฉายรังสีตามวันเวลาที่นัด

เอกสารที่ตองเตรียมมาเพื่อนัดคิวฉายรังส ี ควรประกอบดวย

1. สําเนาผลทางหองปฏิบัติการ

2. สําเนา offi cial pathological report

3. แผนฟลม imaging’s หรือ CD

4. Operative procedure โดยละเอียด

5. Underlying disease และการรักษา

6. Slide pathology

7. Tumor marker (ถามี)

8. สาเหตุของการสงตอ

9. ใบสงตัวจากโรงพยาบาลตนสังกัดบัตรทองหรือบัตรประกันสังคม

Page 38: บทที่1 - @@ Home - KKU Web Hosting · สัญญาในว ันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ.2542 แต เนื่องจากในช วงเกิดวิกฤตเศรษฐก

40 โรคและการสงตรวจพิเศษที่พบบอย

การสงตอผูปวยมะเร็งปากมดลูกเพื่อเขา tumor clinic

ผูปวย CA cervix ที่ตองการสงมาเขา tumor clinic สามารถโทรมานัดคิวไดที่เบอร 043-363632 (รับไมเกินวันละ

5 คน) โดยตองเตรียมผลการตรวจมาในวันนัด ดังนี้

1. Routine staging CA cervix

2. ผล pathology

3. ผล CBC, UA, BUN, Cr, LFT

4. ผล CXR, IVP

5. ผล cystoscope และ proctoscope

การสงตรวจพิเศษ

1. การตรวจพิเศษทางเวชศาสตรนิวเคลียร

การตรวจพิเศษทางเวชศาสตรนวิเคลียร ทีโ่รงพยาบาลศรีนครินทรมใีหบรกิาร ไดแก bone scan, heart scan เปนตน

โรงพยาบาลตางๆ ที่ตองการสงผูปวยมาตรวจพิเศษทางเวชศาสตรนิวเคลียรทุกชนิด สามารถโทรศัพทมานัดไดที่เบอร

043-363346 เวชศาสตรนวิเคลียรทกุวันจันทร-พฤหสับดี เวลาราชการ นอกเวลาราชการทุกวันจนัทร- ศกุร เวลา 16.30 – 20.30 น.

และวันเสารเวลา 8.00 – 12.00 น.

ขั้นตอนการนัดตรวจพิเศษทางเวชศาสตรนิวเคลียร

1. โทรศัพทเพื่อนัดวันตรวจไดที่เบอร 043-363895

2. แฟกซใบสั่งตรวจของโรงพยาบาลศรีนครินทรมาที่เบอร 043-202472

3. สงผูปวยมาตรงตามวันและเวลาท่ีนัด

4. กรณีผูปวยใชสิทธิบัตรทอง หรือบัตรประกันสังคม กรุณานําใบสงตัวที่รับรองการใชสิทธิมาพรอม

บัตรประชาชน และบัตรทองหรือบัตรประกันสังคม

ขั้นตอนการปฏิบัติในวันนัดตรวจ

1. ติดตอพยาบาลดานหนา เพื่อยื่นใบสงตัว และแนะนําการข้ันตอนการใชบริการ

2. ทําบัตรโรงพยาบาลท่ีงานเวชระเบียน

3. ติดตอเจาหนาที่การเงิน (กรณีเบิกสวัสดิการขาราชการ และจายเงินสด) หรือเจาหนาที่ตรวจสอบสิทธิ

(กรณีใชสิทธิบัตรทองหรือบัตรประกันสังคม)

4. ติดตอเจาหนาที่หองตรวจเวชศาสตรนิวเคลียร (ชั้นใตดิน)

5. ฉีดยาเภสัชรังสี

6. ตรวจพิเศษ/รอผล หรือนัดรอผล

ความสามารถในการตรวจ/คิว

ในเวลาราชการ

5 รายตอวัน ระยะเวลารอคอยคิวประมาณ 3 เดือน (สามารถใชบริการไดทุกสิทธิ)

นอกเวลาราชการ

7 รายตอวนั (วนัจนัทร-ศกุร เยน็, วนัเสาร เชา) ระยะเวลารอคอยควิประมาณ 1 เดือน (เฉพาะสทิธขิาราชการ

Page 39: บทที่1 - @@ Home - KKU Web Hosting · สัญญาในว ันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ.2542 แต เนื่องจากในช วงเกิดวิกฤตเศรษฐก

โรคและการสงตรวจพิเศษท่ีพบบอย 41

ประกันสังคมโรงพยาบาลศรีนครินทร และจายเงินสด)

2. การนัดตรวจพิเศษทางรังสีวินิจฉัย

การตรวจพิเศษที่สําคัญและซับซอนที่โรงพยาบาลศรีนครินทรมีใหบริการ ไดแก MRI, HRCT, angiography

ขั้นตอนการนัดตรวจ magnetic resonance imagine: MRI

1. ติดตอพยาบาลดานหนาเพื่อยื่นใบสงตอและแนะนําการข้ันตอนการใชบริการ

2. ทําบัตรผูปวยที่งานเวชระเบียน

3. กรณีผูปวยถือใบสั่งตรวจท่ีเปนแบบฟอรมของโรงพยาบาลศรีนครินทรมา ใหผูปวยหรือญาติผูปวย

ยืน่ใบสัง่ตรวจท่ีหองเอก็ซเรยเพือ่นดัวนัตรวจ กรณไีมมใีบส่ังตรวจจะสงพบแพทยทีห่องตรวจท่ีเกีย่วของเพือ่เขยีนใบส่ังตรวจ

4. หองเอ็กซเรยจะออกใบนัดตรวจและอธิบายวิธีเตรียมตรวจ

5. กรณีที่ยังไมมีผล creatinine มาดวย เจาหนาท่ีหองเอ็กซเรยอาจออกใบส่ังตรวจใหผูปวยเพ่ือเจาะหาคา

creatinine และนําผลมาในวันนัดตรวจ

ขั้นตอนการปฏิบัติในวันนัดตรวจ

1. ติดตอพยาบาลดานหนายื่นใบสงตัว และแนะนําขั้นตอนการตรวจสอบสิทธิการจายคารักษาพยาบาล

2. ทําบัตรโรงพยาบาลท่ีงานเวชระเบียน

3. ติดตอเจาหนาที่หองเอ็กซเรย และเจาหนาที่การเงิน (กรณีสวัสดิการขาราชการและจายเงินสด)

4. ตรวจสอบสิทธิบัตรทองหรือบัตรประกันสังคมที่หนวยตรวจสอบสิทธิ (กรณีใชสิทธิบัตรทองหรือบัตร

ประกันสังคม)

5. ตรวจตามคิวนัด

6. นัดรับผลหลังตรวจอยางนอย 3 วัน

3. การนัดตรวจคลื่นไฟฟาสมอง (electroencephalography : EEG)

ขั้นตอนการนัดตรวจคล่ืนไฟฟาสมอง

1. โทรศพัทเพือ่นดัวนัตรวจทีเ่บอร 043-366399 หรอืเบอร 088-0338442 (กรณเีดก็) หรอืเบอร 082-7419606

(กรณีผูใหญ)

2. แนะนําผูปวยมาใหตรงวันและเวลาท่ีนัด

3. กรณีผูปวยใชสิทธิบัตรทอง หรือบัตรประกันสังคม กรุณานําใบสงตัวที่รับรองการใชสิทธิมาพรอมบัตร

ประชาชน และบัตรทองหรือบัตรประกันสังคม

ขั้นตอนการปฏิบัติในวันนัดตรวจ

1. ติดตอพยาบาลดานหนาเพื่อยื่นใบสงตัว และแนะนําขั้นตอนการใชบริการ

2. ทําบัตรโรงพยาบาลท่ีงานเวชระเบียน

3. ติดตอเจาหนาที่การเงินเพื่อชําระคาบริการ (กรณีเบิกสวัสดิการขาราชการ และจายเงินสด) หรือติดตอ

เจาหนาที่ตรวจสอบสิทธิ (กรณีใชสิทธิบัตรทองหรือบัตรประกันสังคม) คาตรวจจํานวน 1,800 บาท

4. ติดตอเจาหนาที่หองตรวจคล่ืนไฟฟาสมอง อาคาร สว. 1 ชั้น 12

5. ตรวจตามคิวนัด

6. รับผล

Page 40: บทที่1 - @@ Home - KKU Web Hosting · สัญญาในว ันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ.2542 แต เนื่องจากในช วงเกิดวิกฤตเศรษฐก

42 โรคและการสงตรวจพิเศษที่พบบอย

4. การนัดตรวจคลื่นไฟฟากลามเนื้อและเสนประสาท (EMG)

ขั้นตอนการนัดตรวจ

1. แพทยหรือพยาบาลผูสงตอโทรมานัดที่หองตรวจเบอร 10 เวชศาสตรฟนฟู เบอรโทร 043-366674 วัน

จันทร-พฤหัส เวลา 9.00 – 15.00 น. วันศุกร เวลา 9.00-12.00 น. เพื่อนัดหมายวันตรวจใหกับผูปวย กรณีเห็นวาจําเปนตองได

รับการตรวจ โดยที่ไมจําเปนตองสงตัวผูปวยมา นัดตรวจไมเกิน 3 ราย/วัน

2. แนะนําผูปวยมาตรวจ ตามนัด พรอมทัง้เอกสารการสงตวั และการตรวจพิเศษอ่ืนๆ ทีท่าํมาแลว เชน ภาพถาย

ทางรังสี ผลการเจาะหลัง หรือผลเลือด (ถามี)

ขั้นตอนการปฏิบัติในวันนัดตรวจ

1. ติดตอพยาบาลดานหนาเพื่อยื่นใบสงตัว และแนะนําขั้นตอนการใชบริการ

2. ทําบัตรโรงพยาบาลท่ีงานเวชระเบียน

3. ติดตอเจาหนาที่หองตรวจเวชศาสตรฟนฟู

4. ตรวจตามคิวนัด

5. ติดตอเจาหนาที่การเงินเพื่อชําระคาบริการ (กรณีเบิกสวัสดิการขาราชการ และจายเงินสด) หรือติดตอ

เจาหนาที่ตรวจสอบสิทธิ (กรณีใชสิทธิบัตรทองหรือบัตรประกันสังคม) คาตรวจจํานวน 500-8000 บาท

6. รับผล

5. การสงตรวจชิ้นเนื้อไต (kidney biopsy)

ขั้นตอนการปฏิบัติ

1. นาํช้ินเนือ้แชแขง็พรอมใบสัง่ตรวจและใบสงตวัจากโรงพยาบาลท่ีตองการสงตรวจติดตอพยาบาลดานหนา

2. ทําบัตรโรงพยาบาลท่ีงานเวชระเบียน (กรณีบัตรใหม)

3. ตดิตอเจาหนาทีก่ารเงนิ (กรณเีบิกสวัสดิการขาราชการ และจายเงนิสด) หรือตดิตอเจาหนาทีต่รวจสอบสทิธ ิ

(กรณีใชสิทธิบัตรทองหรือบัตรประกนัสังคม) คาตรวจ จํานวน 2,350 บาท

4. นําสงชิ้นเนื้อที่หองปฏิบัติการพยาธิ ชั้น 3 และนัดรับผล

6. การตรวจดีเอ็นเอทางนิติเวช (forensic DNA)

ดีเอ็นเอ (Deoxyribonucleic acid; DNA) คือสารพันธุกรรม ซึ่งมีหนาที่กําหนดลักษณะและคุณสมบัติของมนุษย

และส่ิงมีชวีติชนิดตางๆ มนษุยทกุคนจะไดรบัการถายทอดดีเอน็เอคร่ึงหน่ึงมาจากพอและอีกคร่ึงหน่ึงมาจากแม ดเีอน็เอเปน

ลักษณะเฉพาะของแตละบุคคล ยกเวนฝาแฝดแทเทาน้ันที่มีดีเอ็นเอเหมือนกันทุกตําแหนง

ปจจุบัน ภาควิชานิติเวชศาสตร คณะแพทยศาสตร ใหบริการตรวจดีเอ็นเอทางนิติเวช ดังน้ี

1. การพิสูจนบุคคล เชน การตรวจดีเอ็นเอจากคราบเลือดในท่ีเกิดเหตุเปรียบเทียบกับผูตองสงสัย อัตราคา

บริการ 2,000 บาท/คน หรือ 2,000 บาท/สิ่งสงตรวจ

2. การพิสูจนความสัมพันธระหวาง พอ-แม-ลูก กรณีตรวจครบท้ังพอ แม และลูก อัตราคาบริการ 2,000 บาท/คน

3. การพิสูจนความสัมพันธระหวาง พอ-ลูก หรือ แม-ลูก อัตราคาบริการ 4,000 บาท/คน

4. การพิสูจนความสัมพันธแบบพี่นอง กรณีเปนพี่นองรวมบิดาและมารดา อัตราคาบริการ 4,000 บาท/คน

5. การพิสูจนความสัมพันธแบบกึ่งพี่นอง กรณีที่มีความสัมพันธตํํ่ํากวาการเปนพี่นองรวมบิดาและมารดา

แตสูงกวาการเปนลูกพี่ลูกนอง เชน พี่นองรวมบิดา (ตางมารดา), พี่นองรวมมารดา (ตางบิดา), ปู-หลาน, ยา-หลาน, ตา-หลาน,

ยาย-หลาน, ลุง-หลาน, ปา-หลาน, อา-หลาน และนา-หลาน อัตราคาบริการ 4,000 บาท/คน

Page 41: บทที่1 - @@ Home - KKU Web Hosting · สัญญาในว ันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ.2542 แต เนื่องจากในช วงเกิดวิกฤตเศรษฐก

โรคและการสงตรวจพิเศษท่ีพบบอย 43

ขั้นตอนการติดตอขอใชบริการ

1. การตรวจดีเอ็นเอทางนิติเวช เปดใหบริการในวันและเวลาราชการ ควรมาถึงหองตรวจกอนเวลา 15.00 น.

เนื่องจากการเงิน จะปดรับเงินเวลา 15.30 น.

2. สอบถามขอมูลเพิ่มเติมไดที่ ภาควิชานิติเวชศาสตร คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน เลขท่ี 123

ถนนมิตรภาพ อ.เมือง จ.ขอนแกน 40002 โทร 043-202859 หรือ 043-363559 โทรสาร 043-363708 หองปฏิบัติการภาควิชา

นิติเวชศาสตร โทร. 043-363559 ในวันและเวลาราชการ

การเตรียมตัวกอนมาตรวจดีเอน็เอทางนิติเวช

1. เนื่องจากการตรวจดีเอ็นเอทางนิติเวช โดยเฉพาะการพิสูจนพอ-แม-ลูก นอกจากจะมีผลในทางกฎหมาย

แลว ยังมีผลกระทบโดยตรงตอจิตใจของผูรับการตรวจและผูที่เกี่ยวของ ดังน้ันควรพิจารณาถึงผลท่ีจะตามมาใหรอบคอบ

กอนขอรับการตรวจ

2. ผูรับการตรวจจะตองเตรียมเอกสารเพ่ือประกอบคําขอตรวจดีเอ็นเอ ดังนี้

2.1 สําเนาบัตรประจําตัวประชาชน

2.2 สาํเนาทะเบียนบาน หรือสูติบัตร สําหรับเด็กที่ยังไมมีบัตรประชาชน

2.3 หนังสือเดินทาง (passport) สําหรับชาวตางชาติ

2.4 หนังสือสงจากหนวยงานราชการ (ถามี)

2.5 หลักฐานอ่ืนที่แสดงชื่อและนามสกุล สําหรับผูที่รายชื่อตกหลนจากทะเบียนราษฎร (ถามี)

3. ไมตองงดนํ้ําและอาหารกอนมาตรวจดีเอ็นเอ ผูรับการตรวจสามารถรับประทานอาหารและยา (ถามี)

ไดตามปกติ

4. หากไดรับบริจาคเลือดจากผูอื่นภายในระยะเวลา 3 เดือน หรือเคยไดรับการเปลี่ยนถายไขกระดูกมากอน

ตองแจงใหเจาหนาที่ทราบ

ขั้นตอนการรับบริการตรวจดีเอ็นเอทางนิติเวช

1. ติดตอพยาบาลดานหนาเพื่อยื่นหนังสือ และแจงความจํานงขอตรวจดีเอ็นเอ

2. ทําบัตรผูปวยใหมที่งานเวชระเบียน (กรณีที่ไมเคยทําบัตรผูปวยโรงพยาบาลศรีนครินทร)

3. ยื่นเอกสารขอตรวจดีเอ็นเอ ที่หองปฏิบัติการภาควิชานิติเวชศาสตร (อาคารวิทยาศาสตรคลินิก ชั้น 4) เพื่อ

ลงทะเบียนการตรวจดีเอ็นเอ และถายรูป

4. ชําระเงินคาตรวจ ที่หนวยเงินรายได การเงิน (อาคารวิทยาศาสตรคลินิก ชั้น 2)

5. เจาะเลือด/เก็บสิ่งสงตรวจ ที่หองปฏิบัติการภาควิชานิติเวชศาสตร (อาคารวิทยาศาสตรคลินิก ชั้น 4)

(ใชเวลาในขั้นตอนที่ 1-4 ประมาณ 1-2 ชั่วโมง จากน้ันกลับไปรอผลตรวจที่บาน)

6. การตรวจวเิคราะห ใชระยะเวลาในการตรวจประมาณ 45 วนั หรอือาจนานกวานัน้หากมกีารตรวจวเิคราะห

เพิ่มเติม หรือในขณะนั้นมีผูขอรับการตรวจ มากกวา 100 คน/เดือน

7. การรายงานผลการตรวจ

7.1 ติดตอขอรับผลการตรวจดวยตัวเองท่ี สํานักงานภาควิชานิติเวชศาสตร(อาคารเตรียมวิทยาศาสตร

คลินิก ชั้น 5) โทร 043-202859 หรือ 043-363559 โทรสาร 043-363708 ในวันและเวลาราชการ กรณีใหผูอื่นมารับแทนจะตอง

มีหนังสือมอบอํานาจจากผูรับการตรวจมาแสดงดวย

7.2 รับผลการตรวจทางไปรษณีย (ไปรษณียลงทะเบียน) ตามที่อยูที่ผูรับการตรวจไดแจงความ

ประสงคไว

Page 42: บทที่1 - @@ Home - KKU Web Hosting · สัญญาในว ันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ.2542 แต เนื่องจากในช วงเกิดวิกฤตเศรษฐก

การใหบริการของหองตรวจและการบริการอ่ืนๆ 45

การใหบริการของหองตรวจ แผนกผูปวยนอก โรงพยาบาลศรีนครินทร

แผนกผูปวยนอก โรงพยาบาลศรีนครินทร เปดใหบริการผูปวยตามโรค และอาการเจ็บปวย มีจํานวน 16 หองตรวจ ดังน้ี

1.1 หองตรวจเวชปฏิบัติทั่วไป

1.2 หองตรวจเบอร 1 ออรโธปดิกส

1.3 หองตรวจเบอร 2 นรีเวชกรรม

1.4 หองตรวจเบอร 3 หองฝากครรภและวางแผนครอบครัว

1.5 หองตรวจเบอร 4 หองตรวจศัลยกรรม

1.6 หองตรวจเบอร 5 หองตรวจจักษุ

1.7 หองตรวจเบอร 6 หองตรวจจักษุ

1.8 หองตรวจเบอร 7 หองตรวจจิตเวช

1.9 หองตรวจเบอร 8-9 หองตรวจอายุรกรรม

1.10 หองตรวจกุมารเวชกรรม

1.11 หองตรวจหู คอ จมูก

1.12 หองตรวจเบอร 10 หองตรวจเวชศาสตรฟนฟู

1.13 หองตรวจเบอร 11 หองตรวจทันตกรรม

1.14 หองตรวจรังสีวินิจฉัย

1.15 หองตรวจรังสีรักษา

1.16 หองตรวจเวชศาสตรนิวเคลียร

1.17 หองตรวจสุขภาพพิเศษและคลินิกนอกเวลา

การใหบริการของแตละหองตรวจ มีดังนี้

หองตรวจเวชปฏิบัติทั่วไป

ใหบริการตรวจรักษาโรค วันจันทร-ศุกร เวลา 8.30 - 16.30 น. ดังน้ี

1. กลุมผูปวยอายุ 15 ป ขึ้นไป ที่มีอาการเจ็บปวยทั่วไป และยังไมระบุโรคชัดเจน เชนปวดศีรษะ ปวดทอง

ปวดหลัง ปวดเอว หรือ ผลการตรวจสุขภาพประจําปพบความผิดปกติ เปนตน

2. คลินิกโรคเฉพาะทาง ไดแก คลินิกโรคความดันโลหิตสูง

3. กลุมผูปวยอายุรกรรม ที่ขาดการรักษาตอเน่ืองนานกวา 6 เดือน

4. กลุมผูปวยโรคกระดูก (เฉพาะวันพุธ)

5. กลุมผูปวยโรคศัลยกรรม (เฉพาะวันศุกร)

5การใหบริการของหองตรวจและ

การบริการอื่นๆ

บทท่ี

Page 43: บทที่1 - @@ Home - KKU Web Hosting · สัญญาในว ันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ.2542 แต เนื่องจากในช วงเกิดวิกฤตเศรษฐก

46 การใหบริการของหองตรวจและการบริการอื่นๆ

เวลายื่นบัตร 7.00 - 13.30 น. โทรศัพทที่ติดตอ 043-363637, 043-363702

ตารางการใหบริการผูปวยนอก หองตรวจเวชปฏิบัติทั่วไป

หองตรวจเบอร 1 หองตรวจออรโธปดิกส

1. ใหบริการตรวจเฉพาะผูปวยโรคกระดูก เอ็น กลามเน้ือ เสนประสาทและขอ ทุกวันจันทร อังคาร พฤหัสบดี

และศุกร ตั้งแตเวลา 8.30-16.30 น. ยกเวนวันพุธ ตรวจเฉพาะผูปวยนัดเทาน้ัน เวลา 9.00-12.00 น.

2. ใหบริการตรวจรักษาและทําหัตถการ ไดแก ทําแผล ฉีดยา ตัดไหม เจาะขอ ใสเฝอก ถอดเฝอก เปนตน

ตารางการใหบริการผูปวยนอก หองตรวจเบอร 1 ออรโธปดิกส

โทรศัพทติดตอ 043-363633, 043-363105, 043-363701

เปดรับบัตร เวลา 7.00 - 11.00 น.

วัน แพทยออกตรวจ/คลินิกพิเศษ (8.30-16.30 น.)

จันทร อ.สุกิจ แสงนิพันธกูล อ.กิตติ จิระรัตนโพธิ์ชัย อ.กิติวรรณ วิปุลากร อ.สุรชัย แซจึง

อ.ชัชวาล ศานติพิพัฒน อ.เกรียงไกร วิทยาไพโรจน

คลินิกพิเศษ : คลินิกโรคกระดูกสันหลัง, คลินิกโรคกระดูกในเด็ก,

คลินิกโรคขอเขาและสะโพก

อังคาร อ.ศักดา ไชกิจภิญโญ อ.ศุภศิลป สุนทราภา อ.ปยวรรณ จตุปาริสุทธิ์

อ.ธรา ธรรมโรจน อ.สุวิชชา ศรีผดุงกุล

คลินิกพิเศษ : คลินิกโรคกระดูกพรุน, คลินิกภยันตรายทางออรโธปดิกส,

คลินิกขายประสาทแขนไดรับบาดเจ็บ

วัน 08.00-12.00 น. พัก รับ ประ ทานอาหาร

13.30-16.30 น. จันทร ตรวจโรคทั่วไป ตรวจผูปวยจากภาคเชา

อังคาร ตรวจโรคทั่วไป ตรวจผูปวยจากภาคเชา

พุธ ตรวจโรคทั่วไป

และโรคทางกระดูก เอ็น กลามเนื้อ

ตรวจผูปวยจากภาคเชา

พฤหัสบดี ตรวจโรคทั่วไป ตรวจผูปวยจากภาคเชา

ศุกร ตรวจโรคทั่วไป และโรคทางศัลยกรรม

ตรวจผูปวยจากภาคเชา

Page 44: บทที่1 - @@ Home - KKU Web Hosting · สัญญาในว ันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ.2542 แต เนื่องจากในช วงเกิดวิกฤตเศรษฐก

การใหบริการของหองตรวจและการบริการอ่ืนๆ 47

วัน แพทยออกตรวจ/คลินิกพิเศษ (8.30-16.30 น.)

พุธ กิจกรรมการเรียนการสอนแพทยใชทุนและแพทยประจําบาน

9.00-12.00 คลินิกพิเศษ (รับเฉพาะผูปวยนัดเทานั้น)

สัปดาหที่ 1 ของเดือน คลินิกเน้ืองอกกระดูกและขอ (เฉพาะผูปวยนัด)

สัปดาหที่ 2 ของเดือน คลินิกโรคกระดูกและขอในเด็ก (เฉพาะผูปวยนัด)

สัปดาหที่ 3 ของเดือน คลินิกโรคทางมือและขายประสาทแขนไดรับบาดเจ็บ

(เฉพาะเดือนคี่ และเฉพาะผูปวยนัด)

พฤหัสบดี อ.วิรุฬห เหลาภัทรเกษม อ.สุรัตน เจียรณมงคล อ.เสริมศักด์ิ สุมานนท อ.ชัช สุมนานนท

อ.มนูศักดิ์ บุญอาจ

คลินิกพิเศษ

คลินิกกีฬาเวชศาสตร

คลินิกโรคทางมือ

คลินิกโรคหัวไหล

ศุกร อ.พลศักดิ์ จีระวิพูลวรรณ อ.วีระชัย โควสุวรรณ อ.วินัย ศิริชาติวาป

อ.ทวีโชค วิษณุโยธิน อ.เพิ่มศักด์ิ พหลภาคย

คลินิกพิเศษ คลินิกโรคเน้ืองอกของกระดูกและขอ

หมายเหตุ ผูปวย tumor orthopedics ถามีผล pathology มา กรุณาใหผูปวยถือสไลดมาดวย

Page 45: บทที่1 - @@ Home - KKU Web Hosting · สัญญาในว ันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ.2542 แต เนื่องจากในช วงเกิดวิกฤตเศรษฐก

48 การใหบริการของหองตรวจและการบริการอื่นๆ

หองตรวจเบอร 2 หองตรวจนรีเวชกรรม

1. ใหบริการตรวจตรวจรกัษาโรคทางนรเีวชกรรมในวนัจนัทร องัคาร พฤหสับด ีและวนัศกุร (เวนวนัพธุ) เปดรับบัตร

เวลา 7.00 - 11.00 น.

2. ผูปวย CA cervix ทีต่องการสงมาเขา Tumor clinic สามารถโทรมานดัคิวไดทีโ่ทรศัพทหมายเลข 043-363632

(รับไมเกินวันละ 5 คน) โดยตองเตรียมผลการตรวจมาในวันนัด ดังนี้

2.1 ผล pathology

2.2 ผล CBC, UA, BUN, Cr, LFT

2.3 ผล CXR, IVP

2.4 Cystoscopy และ Proctoscopy

ตารางการใหบริการผูปวยนอก หองตรวจเบอร 2 นรีเวชกรรม

โทรศัพทติดตอ 043-363632

เปดรับบัตรเวลา 7.00 - 11.00 น.

วัน แพทยออกตรวจ (นรีเวชทั่วไป) คลินิกพิเศษ

(8.30-12.00 น.) (13.00-16.30 น.)

จันทร อ.ถวัลยวงค อ.ประนอม คลินิกมะเร็งนรีเวชกรรม

อ.วรลักษณ อ.ปยะมาศ อ.สงวนโชค อ.บรรจง อ.บัณฑิต

อ.สงวนโชค อ.เจษฎา อ.ชํานาญ อ.อมรรัตน อ.ชํานาญ

คลินิกคล่ืนเสียงความถี่สูงทางนรีเวชรรม

อังคาร อ.ยุทธพงศ อ.โกวิท คลินิกผูมีบุตรยาก

อ.วิทูรย อ.อมรรัตน อ.กีรติ อ.สุพัชญ อ.ฐิติมา อ.ศิริฤทัย อ.เยาวภา

คลินกิคลื่นเสียงความถี่สูงทางนรีเวชกรรม คลินิกสองกลองตรวจปากมดลูกและ

คลินิกจี้เย็น อ.สงวนโชค อ.บรรจง

อ.บัณฑิต อ.อมรรัตน อ.ชํานาญ

พุธ กิจกรรมการเรียนการสอน (งดใหบริการ)

พฤหัสบดี อ.กนก อ.บรรจง อ.ฐิติมา คลินิกนรีเวชทางเดินปสสาวะและอวัยวะใน

อ.รัตนา อ.พิไลวรรณ อ.ศิริฤทัย อุงเชิงกรานหยอน

คลินิกคล่ืนเสียงความถี่สูงทางนรีเวชกรรม อ.ประนอม อ.โฉมพิลาศ อ.ธีระยุทธ

คลินิกสองกลองตรวจปากมดลูกและคลินิก

จี้เย็น อ.สงวนโชค อ.บรรจง

อ.บัณฑิต อ.อมรรัตน อ.ชํานาญ

ศุกร อ.สุกรี อ.บัณฑิต

อ.ศรีนารี อ.โฉมพิลาศ อ.ธีระยุทธ

คลินิกคลื่นเสียงความถี่สูงทางนรีเวชกรรม

Page 46: บทที่1 - @@ Home - KKU Web Hosting · สัญญาในว ันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ.2542 แต เนื่องจากในช วงเกิดวิกฤตเศรษฐก

การใหบริการของหองตรวจและการบริการอ่ืนๆ 49

หองตรวจเบอร 3 หองฝากครรภและวางแผนครอบครัว และศูนยวินิจฉัย และรักษาทารกในครรภ

เปดใหบริการในวันจันทร อังคาร พฤหัสบดี และศุกร (เวนวันพุธ) เปดรับบัตรเวลา 7.00-11.00 น. มีการใหบริการ ดังน้ี

1. ใหบริการฝากครรภ ตรวจวินิจฉัย และรักษาผูที่มีความผิดปกติขณะตั้งครรภ

2. ใหบริการปรกึษาวางแผนครอบครัวและคุมกําเนิด

3. ใหบริการชาย-หญิงวัยทอง

4. ใหบริการวินิจฉัย และรักษาทารกในครรภ

5. ผูปวยทีจ่ะนดัตรวจอลัตราซาวด 4 มติ ิ และตรวจนํ้าํครํํ่าํสามารถโทรมานดัลวงหนาไดทีเ่บอร 043-363703 และ

จะตรวจเมื่ออายุครรภ 16-18 สัปดาห

ตารางการใหบริการผูปวยนอก หองตรวจเบอร 3 หองฝากครรภและวางแผนครอบครัว

และศูนยวินิจฉัย และรักษาทารกในครรภ

โทรศัพทติดตอ 043 – 363044, 043 – 363638, 043 - 363703 เปดรบับัตรเวลา 7.00 – 11.00 น.

วัน แพทยออกตรวจ/การบริการ คลินิกพิเศษ

(8.30-12.00 น.) (13.00-16.30 น.)

จันทร อ.กนก อ.ศิริฤทัย อ.พิไลวรรณ คลินิกชายวัยทอง อ.โกวิท อ.บรรจง อ.รัตนา อ.ฐิติมา คลินิกคลื่นเสียงความถี่สูงทางสูติกรรมขั้นสูง

คลินิกคล่ืนเสียงความถี่สูงทางสูติกรรม อ.รัตนา คลินิกวางแผนครอบครวั

อังคาร อ.สุกรี อ.โฉมพิลาศ อ.บัณฑิต อ.ธีระยุทธ อ.ศรีนรี คลินิกคล่ืนเสียงความถี่สูงทางสูติกรรม

คลินิกวางแผนครอบครัว

คลินิกเจาะนํ้ําครํํ่ําตรวจวินิจฉัยโครโมโซม

ของทารกในครรภ

อ.ถวัลยวงค อ.รัตนา อ.ปยะมาศ

พุธ กิจกรรมการเรียนการสอน (งดใหบริการ)

พฤหัสบดี อ.ถวัลยวงค อ.วรลักษณ • คลินิกครรภแฝด อ.ปยะมาศ

อ.ประนอม อ.ปยะมาศ อ. เจศฎา • คลินิกปรึกษาแนะนําทางพันธุกรรม อ.สงวนโชค อ.ชํานาญ อ.ถวัลยวงค อ.รัตนา อ.ปยะมาศ

คลินิกวางแผนครอบครัว • คลินิกสตรีวัยหมดประจําเดือน คลินิกคล่ืนเสียงความถี่สูงทางสูติกรรม อ.วรลักษณ

ศุกร อ.ยุทธพงศ อ.อมรรัตน อ.โกวิท อ.วิฑูรย อ.กีรติ อ.เยาวภา คลินิกตรวจวินิจฉัยทารกในครรภ

นพ.ถวัลยวงค พญ.รัตนา พญ. ปยะมาศ คลินิกวางแผนครอบครัว

คลินิกคลื่นเสียงความถี่สูงทางสูติกรรม

คลินิกสตรีวัยหมดประจําเดือน

อ.สุกรี อ.ศรีนารี

Page 47: บทที่1 - @@ Home - KKU Web Hosting · สัญญาในว ันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ.2542 แต เนื่องจากในช วงเกิดวิกฤตเศรษฐก

50 การใหบริการของหองตรวจและการบริการอื่นๆ

หองตรวจเบอร 4 หองตรวจศัลยกรรม

1. ใหบริการรักษาพยาบาลผูปวยนอกทางดานศัลยกรรมทุกชนิด,ทุกเพศและวัย

2. บริการใหขอมูลเตรียมความพรอมในผูปวยโรคมะเร็งที่ไดรับการรักษาดวยการผาตัดและการใหยาเคมีบําบัด

3. เปนศูนยกลางการใหบริการรักษาพยาบาลผูปวยโรคมะเร็งทางศัลยกรรม ไดแก ศูนยผูปวยมะเร็งทอนํ้ําดี

ศูนยผูปวยมะเร็งเตานม ศูนยมะเร็งลําไสใหญและทวารหนัก ศูนยผูปวยปากแหวงเพดานโหว และศูนยบริการตรวจรักษา

ผูปวยโรคหัวใจ หลอดเลือดและทรวงอก

4. ใหบริการดูแลบาดแผลและจัดการความปวด

5. เปดใหบริการวันจันทร-วันพฤหัสบดี เปดรับบัตรเวลา 7.00-11.00 น.

ตารางการใหบริการผูปวยนอก หองตรวจเบอร 4 ศัลยกรรม

โทรศัพทติดตอ 043 363470

หนวยรักษปทุม 043 – 366919-20

เปดรับบัตรเวลา 7.00 – 11.00 น.

วัน แพทยออกตรวจ/การบริการ คลินิกพิเศษ

(8.30-12.00 น.) (13.00-16.30 น.)

จันทร ศัลยกรรมท่ัวไป 2 อ.ณรงค อ.ศิริ อ.องอาจ ตรวจผูปวยตอจากภาคเชา (ไมรับผูปวยใหม)

อ.อนงคพร

ศัลยกรรมท่ัวไป 4 อ.เอก อ.วัชรพงศ

อ.ณรงคชัย อ.สุภัชชา

ศัลยกรรมเด็ก อ.สุชาติ

ศัลยกรรมประสาท อ.ไชยวิทย อ.พิชเยนทร

โรคเตานม อ.ธเนศ อ.ดําเนิน

(ออกท่ีหนวยรักษปทุม)

อังคาร ศัลยกรรมท่ัวไป 1 อ.ขจิตร อ.อนัน อ.ธราธิป ตรวจผูปวยตอจากภาคเชา (ไมรับผูปวยใหม)

อ.พจนชวิทย

ศัลยกรรมตกแตง อ.พลากร

ศัลยกรรมหัวใจหลอดเลือดและทรวงอก

อ.ชูศักดิ์ อ.วรวิทย อ.ชนัญญา

ศัลยกรรมท่ัวไป 3 อ.เกรียงศักด์ิ อ.กฤษฎา

อ.สุริยะ

โรคเตานม อ.ไชยยุทธ อ.โอวตือ

(ออกท่ีหนวยรักษปทุม)

Page 48: บทที่1 - @@ Home - KKU Web Hosting · สัญญาในว ันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ.2542 แต เนื่องจากในช วงเกิดวิกฤตเศรษฐก

การใหบริการของหองตรวจและการบริการอ่ืนๆ 51

วัน แพทยออกตรวจ/การบริการ คลินิกพิเศษ

(8.30-12.00 น.) (13.00-16.30 น.)

พุธ ศัลยกรรมท่ัวไป 2 อ.ศิริ อ.ณรงค อ.องอาจ ตรวจผูปวยตอจากภาคเชา (ไมรับผูปวยใหม)

ศัลยกรรมท่ัวไป 4 อ.เอก อ.วัชรพงศ

อ.ธเนศ อ.ณรงคชัย

ศัลยกรรมเด็ก อ.สุชาติ อ.วินัย

ศัลยกรรมประสาท อ.อาํนาจ

โรคเตานม อ.ดําเนิน (หนวยรักษปทุม),

อ.อนงคพร

พฤหัสบดี ศัลยกรรมท่ัวไป 1 อ.เอกรินทร อ.ธราธิป ตรวจผูปวยตอจากภาคเชา (ไมรับผูปวยใหม)

ศัลยกรรมทั่วไป 3 อ.เกรียงศักด์ิ อ.กฤษฎา

อ.ไชยยุทธ อ.โอวตือ อ.สุริยะ

ศัลยกรรมตกแตง อ.กมลวรรณ อ.บวรศิลป

ศัลยกรรมหัวใจหลอดเลือดและทรวงอก

อ.สมภพ อ.ชวลิต

โรคเตานม อ.พจนชวิทย

(ออกท่ีหนวยรักษปทุม)

ศุกร กิจกรรมการเรียนการสอน

(รับเฉพาะผูปวยนัด)

หมายเหตุ : 1. ผูปวย CHCA ถาไมไดระบุวาสงมาพบ GI med ใหสงหองตรวจศัลยกรรมกอน ยกเวนวันศุกรที่ไมมี

ศัลยแพทยออกตรวจ ใหพิจารณาสงหองตรวจอายุรกรรม

2. ผูปวย CA breast วนัจนัทร ใหสงตรวจทีค่ลนิกิรกัษปทมุ วนัองัคาร-พฤหสับด ี สงทีห่องตรวจศลัยกรรม

เบอร 4

3. ผูปวย ESRD ที่สงมาทํา AVF สงตรวจท่ีหองตรวจศัลยกรรมเบอร 4 ทุกวัน ยกเวนวันศุกร

4. ผูปวยโรคไทรอยด สงตรวจหองศัลยกรรม วันจันทร-พฤหัสบดี (ทุกวัน ยกเวนวันศุกร)

5. ผูปวยโรคหัวใจและหลอดเลือดและทรวงอก สงตรวจหองศัลยกรรม วันอังคาร และวันพฤหัสบดี

Page 49: บทที่1 - @@ Home - KKU Web Hosting · สัญญาในว ันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ.2542 แต เนื่องจากในช วงเกิดวิกฤตเศรษฐก

52 การใหบริการของหองตรวจและการบริการอื่นๆ

หองตรวจเบอร 5 และ 6 หองตรวจจักษุ

1. ใหบริการตรวจรักษาและผาตัดเก่ียวกับโรคเฉพาะทางตา

2. ใหบริการตรวจพิเศษตาง ๆ ดังนี้

2.1 การฉีดสี FFA เพื่อวินิจฉัยภายในจอประสาทตา ตรวจในวันจันทร อังคาร และศุกร ประมาณวันละ

4-5 คิว

2.2 การตรวจกําลังสายตา

2.3 การตรวจวัดลานสายตา

2.4 การตรวจประสาทตาดวยคล่ืนไฟฟา

2.5 การตรวจ ultrasound

2.6 การตรวจ pentacam เพื่อตรวจหาความหนา ความโคง ของกระจกตา และความลึกชองหนามานตา

2.7 การตรวจ OCT เปนการตรวจวินิจฉัยพิเศษท่ีมีความละเอียด ซึ่งตรวจเกี่ยวกับจอประสาทตา

เสนประสาทตาตอหิน

2.8 การตรวจ confoscan เปนการตรวจพิเศษ หา cell เย่ือบุตา เปนตน

3. ทําหัตถการตาง ๆ เชน เช็ดตา ลางตา ลางทอนํ้ําตา ฯลฯ และทําการผาตัดเล็ก เชน การลอกเน้ือตา การเจาะ

กุงยิง การเย็บเปลือกตา และผาตัดเล็กอื่น ๆ

4. เปดรับผูปวยใหม / เกาที่ไมไดนัด เวลา 7.00 (รับจํากัดจํานวนไมเกินวันละ 40-60 ราย) ผูปวยนัดวันละ

ประมาณ 200 ราย เมื่อเต็มโควตาจะปดรับ ดังนั้นจึงขอความกรุณาแนะนําผูปวยที่ไมไดนัดมาติดตอในเวลา 7.00-8.00 น.

ตารางการใหบริการผูปวยนอก หองตรวจเบอร 5 และ 6 จักษุ

โทรศัพทติดตอ 043 – 363705, 043-363-541

วัน แพทยออกตรวจ / การบริการ คลินิกพิเศษ

(8.30 - 16.30 น.) (13.00 - 16.30 น.)

จันทร อ.สมเกียรติ อ.ภาวสุทธิ์ (glaucoma) Glaucoma clinic อ.นิพนธ

อ.โอฬาร อ.อรพิน (cornea) Resident สาย 3

Resident สาย 1 Cornea clinic อ.โอฬาร อ.อรพิน Resident

Muscle clinic อ.พรรณทิพา สาย 2

อ. สิรินยา Retina clinic อ.สุธาสินี อ.ธรรศ

Resident สาย 2

อังคาร อ.ยศอนันต อ.ธนภัทร อ.สุธาสินี อ.ธรรศ Neuro-oph อ.กิตติศักด อ.สิรนิยา

Resident สาย 2 Resident สาย 3, 4

Retina clinic Resident สาย 3, 4 Oculoplastic clinic อ.ไพฑูรย

Resident สาย 3,4

พุธ Resident สาย 1, 3, 4 (รับไมเกิน 40 คน Grand round (12.00-13.00น.)

เฉพาะกรณีเรงดวนเทานั้น) Journal club conference

คลินิกสายตาเลือนราง (13.00-15.00 น.)

Page 50: บทที่1 - @@ Home - KKU Web Hosting · สัญญาในว ันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ.2542 แต เนื่องจากในช วงเกิดวิกฤตเศรษฐก

การใหบริการของหองตรวจและการบริการอ่ืนๆ 53

วัน แพทยออกตรวจ / การบริการ คลินิกพิเศษ

(8.30 - 16.30 น.) (13.00 - 16.30 น.)

พฤหัสบดี อ.นิพนธ (glaucoma) Glaucoma clinic

อ.พัฒนารี (cornea) อ.สมเกียรติ อ.ภาวสุทธิ์

อ.พรรณทิพา (muscle) Resident สาย 1

อ.สิรินยา Cornea clinic อ.พัฒนารี อ.อรสิริ

Resident สาย 3 Resident สาย 4

ศุกร อ.กิตติศักดิ์ (neuro-ophthalmology) Retina clinic อ.ธนภัทร อ.ชวกิจ

อ.ไพฑูรย (oculoplastic) Resident สาย 1, 2

อ. ชวกิจ อ.อรสิริ Resident สาย 4

Page 51: บทที่1 - @@ Home - KKU Web Hosting · สัญญาในว ันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ.2542 แต เนื่องจากในช วงเกิดวิกฤตเศรษฐก

54 การใหบริการของหองตรวจและการบริการอื่นๆ

หองตรวจหู คอ จมูก

1. ใหบริการตรวจโรคท่ัวไปทางหู คอ จมูก

2. ใหบริการตรวจโรคทางหู ค จมูก ในคลินิกเฉพาะโรค

ตารางการใหบริการผูปวยนอก หองตรวจหู คอ จมูก

โทรศัพทติดตอ 043 – 366247 - 8

เปดรับบัตร 7.00 – 11.00 น.

วัน แพทยออกตรวจ / การบริการ คลินิกพิเศษ

(9.30-12.00 น.) (13.30-16.30 น.)

จันทร อ.ธีรพร อ.วิสูตร อ.พรเทพ คลินิกโสตประสาท

อ.ขวัญชนก อ.สมชาย อ.พรเทพ

คลินิกจมูกและภูมิแพ

อ.สงวนศักด์ิ อ.เสกสันต

อังคาร อ.สงวนศักดิ์ อ.สมชาย อ.ทํานุ คลินิกโรคสายเสียง

อ.พัชรีพร อ.สุภาภรณ

พุธ อ.สุภาภรณ อ.เสกสันต คลินิกโรคภูมิแพ อ.สุรพล อ.วิสูตร

อ.สภุวรรณ

พฤหัสบดี อ.พัชรีพร อ.ขวัญชนก อ.สุรพล คลินิกโรคมะเร็งศีรษะและลําคอ

อ.ทํานุ อ.ธีรพร อ.ภัทรวุฒิ

ศุกร อ.ภัทรวุฒิ อ.ภาธร Tumor conference

Page 52: บทที่1 - @@ Home - KKU Web Hosting · สัญญาในว ันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ.2542 แต เนื่องจากในช วงเกิดวิกฤตเศรษฐก

การใหบริการของหองตรวจและการบริการอ่ืนๆ 55

หองตรวจเบอร 7 หองตรวจจิตเวช

1. ตรวจรักษาผูที่มีปญหาดานสุขภาพจิต ทุกวัย เชน เครียด นอนไมหลับ ปวดศีรษะ ปญหาดานการปรับตัว เด็ก

ที่มีปญหาดานการเรียน สมาธิสั้น ปญหาจากการใชสารเสพติด เชน ติดสุรา หูแวว ประสาทหลอน หลงผิด รวมทั้งใหคําปรึกษา

ครอบครวัโดยใหบรกิารทกุวนัจนัทร-ศกุร เวลา 08.30น.-11.00น. เวนวนัหยดุนักขตัฤกษ นอกเวลาราชการเปดบรกิารวนัเสาร

เวลา 08.30 - 11.00 น.

2. ตรวจสภาพจิตและตรวจวัดระดับเชาวปญญา (ไอคิว) ใหบริการทุกวันราชการเวลา 08.30-12.00 น. (สามารถ

โทรศัพทมานัดกับนักจิตวิทยาลวงหนาได ที่เบอร 043-363002)

3. ใหคําปรึกษาดานสุขภาพจิต

4. ตรวจสภาพจิตเพื่อศึกษาตอตางประเทศ

5. ตรวจและกระตุนพัฒนาเด็ก ในรายที่มีปญหาดานพัฒนาการ เชน ปญญาออน

6. สอนเด็กที่มีความบกพรองดานการเรียนโดยนักจิตวิทยา

7. เปนสถานท่ีฝกปฏิบัติงานสําหรับนักศึกษาปริญญาโท สาขาสุขภาพจิตและจิตเวช คณะพยาบาลศาสตร

มหาวิทยาลัยขอนแกน มหาวิทยาลัยมหาสารคาม และสถาบันอ่ืนๆ

8. หองตรวจจิตเวช ประกอบดวย

หองตรวจท่ัวไป 6 หอง

หองตรวจจิตเวชเด็ก 2 หอง

หองใหคําปรึกษา 2 หอง

หองพัฒนาการ 1 หอง

หองรักษาดวยสนามแมเหลก็ผานกะโหลกศีรษะ 1 หอง

(Transcranial magnetic stimulates หรือ TMS)

หองบําบัด และหองฉีดยา 1 หอง

ตารางการใหบริการผูปวยนอก หองตรวจเบอร 7 จิตเวช

โทรศัพทติดตอ 043 - 363001

เปดรับบัตรเวลา 7.00 - 11.00 น.

วัน แพทยออกตรวจ บริการตรวจรักษา คลินิกพิเศษ

(8.30-12.00 น.) (13.00-16.30 น.)

จันทร อ. สุรพล วีระศิริ คลินิกจิตเวชทั่วไป

อ. สุวรรณา อรุณพงศไพศาล คลินิกโรคจิตเภท -

แพทยประจําบาน 2-3 ทาน

อังคาร อ. ภัทรี เลิศอุทัย คลินิกจิตเวชทั่วไป

อ. นิรมล พัจนสุนทร คลินิกจิตเวชเด็กและวัยรุน -

แพทยประจําบาน 2-3 ทาน

พุธ อ. สุชาติ พหลภาคย คลินิกจิตเวชทั่วไป

อ. ภัทรี เลิศอุทัย -

อ. นวนันท ปยะวัฒนกูล คลินิกครอบครัวบําบัด

แพทยประจาํบาน 2-3 ทาน (รับเฉพาะผูปวยนัด)

Page 53: บทที่1 - @@ Home - KKU Web Hosting · สัญญาในว ันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ.2542 แต เนื่องจากในช วงเกิดวิกฤตเศรษฐก

56 การใหบริการของหองตรวจและการบริการอื่นๆ

วัน แพทยออกตรวจ บริการตรวจรักษา คลินิกพิเศษ

(8.30-12.00 น.) (13.00-16.30 น.)

พฤหัสบดี อ. สุชาติ พหลภาคย คลินิกจิตเวชทั่วไป

อ. นวนันท ปยะวัฒนกูล -

อ. นิรมล พัจนสุนทร คลินิกจิตเวชเด็กและวัยรุน

แพทยประจําบาน 2-3 ทาน

ศุกร อ. สุวรรณา อรุณพงศไพศาล คลินิกจิตเวชทั่วไป

คลินิกปญหาการด่ืมสุรา

กลุมสุราบําบัด

(รับเฉพาะผูปวยนัด) -

อ. พงศธร พหลภาคย คลินิกจิตเวชทั่วไป

อ. นวนันท ปยะวัฒนกูล คลินิกครอบครัวบําบัด

แพทยประจําบาน 2-3 ทาน (รับเฉพาะผูปวยนัด)

Page 54: บทที่1 - @@ Home - KKU Web Hosting · สัญญาในว ันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ.2542 แต เนื่องจากในช วงเกิดวิกฤตเศรษฐก

การใหบริการของหองตรวจและการบริการอ่ืนๆ 57

หองตรวจอายุรกรรม 8

ใหบริการตรวจโรคทางอายุรกรรม โดยแพทยผูเชี่ยวชาญเฉพาะโรค

ตารางการใหบริการผูปวยนอก หองตรวจเบอร 8 อายุรกรรม

โทรศัพทติดตอ 043 – 363021-5

เปดรับบัตรเวลา 7.00 - 11.00 น.

วัน แพทยออกตรวจ / การบริการ คลินิกพิเศษ

(8.30 - 16.30 น.) (13.00 - 16.30 น.)

จันทร อ.วีรจิตต (neurology) คลินิกโรคมะเร็ง อ.เอ้ือมแข อ.โกสินทร

อ.รัตนวดี อ. อรรจนี (rheumatology) อ.จาริญญ

อ.ทรงศักดิ์ (cardiology) คลินิกใบหนากระตุกครึ่งซีก อ.สมศักด์ิ

คลินิกโรคผิวหนัง อ. เจริญ (อาคาร สว.ชั้น 1)

คลินิกโรคเลือดและตอมนํ้ําเหลือง คลินิกโรคเลือดและตอมนํ้ําเหลือง

อ.จิตติมา อ.กาญจนา อ.ณัฐติยา อ.ชินดล คลินิกวัณโรค (ที่หองตรวจวัณโรค)

คลินิกลมชัก อ.สมศักดิ์ อ.วิภา อ.บุญสง อ.วัชรา อ.อนัฆพงษ

(อาคาร สว. ชั้น1)

อังคาร อ.ปยทัศน (cardiology) คลินิกโรคติดเชื้อ อ.เพลินจันทร

อ.วิภา (chest) อ.วิสุทธิ์ อ.ศิริลักษณ อ.ภิรุญ

อ.สมศักดิ์ (neurology) คลินิกโรคภูมิแพและขอ

อ.ฉัตรเลิศ (endocrine) อ.รัตนวดี อ.ศิรภพ อ.อรรจนี อ.วัฒนา (GI)

อ.โกสินทร (oncology) คลินิกโรคความดันโลหิตสูง

คลินิกไตเส่ือม (ที่ สว.1 ชั้น 3) อ. อรทัย อ.กิตติศักด์ิ อ. ปณิตา

คลินิกโรคผิวหนัง อ.เจริญ

CHCA clinic* (10.30-14.00 น.)

อ. พิศาล อ. คูขวัญ อ. อภิชาต

พุธ อ.บุญสง อ.อนุพล (critical care) คลินิกโรคระบบประสาทและสมอง

อ.เพลินจันทร อ.ภิรุญ (infectious) อ.วีรจิตต อ.สมศักด์ิ

อ.ไชยสิทธิ์ (cardiology) คลินิกโรคตอมไรทอ อ.ธงชัย อ.ฉัตรเลิศ

อ.ศิรภพ อ. ชิงชิง (rheumatology) คลินิกโรคไต อ.ทวี อ.ชลธิป อ.ศิริรัตน

คลินิกลางไตทางชองทอง (อาคารสว.ชั้น 3)

คลินิกวิจัยโรคมะเร็ง

Page 55: บทที่1 - @@ Home - KKU Web Hosting · สัญญาในว ันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ.2542 แต เนื่องจากในช วงเกิดวิกฤตเศรษฐก

58 การใหบริการของหองตรวจและการบริการอื่นๆ

วัน แพทยออกตรวจ / การบริการ คลินิกพิเศษ

(8.30 - 16.30 น.) (13.00 - 16.30 น.)

พฤหัสบดี GI clinic (8.30-16.30 น.) อ.พิศาล คลินิกโรคสะเก็ดเงิน อ. เจริญ

อ.กิตติ อ.คูขวัญ อ.เอื้อมแข อ.จาริญญ

(oncology)

อ.สุทธิพันธ (neurology)

อ.อรทัย (cardiology)

คลินิกโรคหอบหืด อ.วัชรา

ศุกร อ.วัฒนา (GI) อ.ทรงขวัญ (cardiology) คลินิกปลูกถายตับ

อ.วิสุทธิ์ อ.ศิริลักษณ (infectious) (สัปดาหที่ 2 ของเดือน)

อ.อนัฆพงษ (chest)

คลินิกโรคเบาหวาน (ที่ สว.ชั้น 1)

อ.ฉัตรเลิศ

คลินิกโรคหนังแข็ง

อ.รัตนวดี อ.ศิรภพ อ.อรรจนี อ.ชิงชิง

คลินิกโรคผิวหนัง อ.เจริญ

Lymphoma clinic (หอผูปวย 2จ)

*คลินิกวิจัยเพ่ือพัฒนาการดูแลผูปวยแบบองครวมโรคมะเร็งทอนํ้ําดี

Page 56: บทที่1 - @@ Home - KKU Web Hosting · สัญญาในว ันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ.2542 แต เนื่องจากในช วงเกิดวิกฤตเศรษฐก

การใหบริการของหองตรวจและการบริการอ่ืนๆ 59

หองตรวจอายุรกรรม 9

ใหบรกิารตรวจโรคทางอายรุศาสตรทัว่ไป และคลินกิเฉพาะโรค ไดแก คลนิกิสารอาหาร คลนิกิผูสงูอาย ุ Toxicology

clinic, Cardio clinic เปนตน

ตารางการใหบริการผูปวยนอก หองตรวจเบอร 9 อายุรกรรม

โทรศัพทติดตอ 043-363046-7, 043-363049

เปดรับบัตรเวลา 7.00 - 11.00 น.

วัน แพทยออกตรวจ / การบริการ คลินิกพิเศษ

(8.30-12.00 น.) (13.00-16.30 น.)

จันทร ตรวจโรคทางอายุรศาสตรทั่วไป ตรวจโรคทางอายุรศาสตรทั่วไป

(แพทยใชทุน แพทยประจําบาน) (แพทยใชทุน แพทยประจําบาน)

คลินิกสารอาหาร อ.ประณิธิ คลินิกผูสูงอายุ อ.ปณิตา

อังคาร ตรวจโรคทางอายุรศาสตรทั่วไป ตรวจโรคทางอายุรศาสตรทั่วไป

(แพทยใชทุน แพทยประจําบาน) (แพทยใชทุน แพทยประจําบาน)

Toxicology clinic อ.สุดา

Cardio clinic อ.บูรพา

พุธ ตรวจโรคทางอายรุศาสตรทั่วไป ตรวจโรคทางอายุรศาสตรทั่วไป

(แพทยใชทุน แพทยประจําบาน) (แพทยใชทุน แพทยประจําบาน)

ตรวจโรคทางผูสูงอายุ อ.ปณิตา

พฤหัสบดี ตรวจโรคทางอายุรศาสตรทั่วไป ตรวจโรคทางอายุรศาสตรทั่วไป

(แพทยใชทุน แพทยประจําบาน) (แพทยใชทุน แพทยประจําบาน)

อ.ธงชัย (endrocrine)

ศุกร ตรวจโรคทางอายุรศาสตรทั่วไป ตรวจโรคทางอายุรศาสตรทั่วไป

(แพทยใชทุน แพทยประจําบาน) (แพทยใชทุน แพทยประจําบาน)

Sleep clinic อ.กิตติศักด์ิ

Page 57: บทที่1 - @@ Home - KKU Web Hosting · สัญญาในว ันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ.2542 แต เนื่องจากในช วงเกิดวิกฤตเศรษฐก

60 การใหบริการของหองตรวจและการบริการอื่นๆ

หองตรวจกุมารเวชกรรม

ใหบริการตรวจรักษาโรคทางกุมารเวชศาสตร ในวันจันทร-ศุกร เวลา 8.30-16.30 น.เปดรับผูปวย เวลา 7.00-11.00 น.

ตารางการใหบริการผูปวยนอก หองตรวจกุมารเวชกรรม

โทรศัพทติดตอ 043-363316, 043 - 363827

เปดรับบัตรเวลา 7.00 - 11.00 น.

วัน แพทยออกตรวจ / การบริการ คลินิกพิเศษ

(8.30-12.00 น.) (13.00-16.30 น.)

จันทร ตรวจโรคทั่วไป คลินิกโรคไต (รศ.อภิชาติ,ผศ.สุวรรณี)

(ผศ.จรูญ, รศ.วิบูลย, อ.ชาญยุทธ, คลินิกโรคทางเดินอาหาร (รศ.เพ็ญศรี,รศ.สุมิตร)

ผศ.รสวันต) คลินิกโรคขอและภูมิแพ (อ.ดารา)

อังคาร ตรวจโรคทั่วไป คลินิกโรคระบบประสาทและสมอง

(ผศ.จรูญ,รศ.วิบูลย,อ.ชาญยุทธ,ผศ.รสวันต) (รศ.สมพนธ, รศ.ณรงค)

คลินกิโรคเลือด คลินิกพัฒนาการและพฤติกรรม (อ.ชาญยุทธ)

(ศ.อรุณี,รศ.สุรพล,ผศ.พัชรี) คลินิกการใหสารอาหาร (รศ.กุสุมา)

คลินิกโรคตอมไรทอ (ศ.อวยพร) คลินิกปญหาทารกแรกเกิด

คลินิกโรคทางพันธุกรรม (อ.กุณฑล) (รศ.ผกาพรรณ, ผศ.จรรยา)

คลินิกโรคขอและภูมิแพ ( อ.ดารา)

พุธ ตรวจโรคทั่วไป (ผศ.จรูญ, รศ.วิบูลย ) คลินิกพฤติกรรมวัยรุน

คลินิกโรคผิวหนัง (ผศ.จรูญ, อ.ลีลาวดี) (อ.ชาญยุทธ, ผศ.รสวันต)

คลินิกภาวะโภชนาการ (รศ.กุสุมา)

พฤหัสบดี ตรวจโรคท่ัวไป (ผศ.จรูญ, รศ.วิบูลย ,

อ.ชาญยุทธ,ผศ.รสวันต)

คลินิกโรคเลือด

(ศ.อรุณี,รศ.สุรพล , ผศ.พัชรี)

คลินิกโรคทางเดินหายใจ

(รศ.จามรี, รศ.ศรีเวียง,อ.รัฐพล)

คลินิกโรคภูมิแพ (อ.ดารา)

วันศุกร ตรวจโรคทั่วไป (ผศ.จรูญ, รศ.วิบูลย , คลินิกสุขภาพเด็กดี (ผศ.จรูญ, รศ.วิบูลย ,

อ.ชาญยุทธ,ผศ.รสวันต) อ.ชาญยุทธ, ผศ.รสวันต)

คลินิกโรคหัวใจ (ศ.มนัส, รศ.อรรฆิศา)

Page 58: บทที่1 - @@ Home - KKU Web Hosting · สัญญาในว ันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ.2542 แต เนื่องจากในช วงเกิดวิกฤตเศรษฐก

การใหบริการของหองตรวจและการบริการอ่ืนๆ 61

หองตรวจเบอร 10 เวชศาสตรฟนฟู

ตารางการใหบริการผูปวยนอก หองตรวจเบอร 10 เวชศาสตรฟนฟู

โทรศัพทติดตอ 043 – 363657, 043 - 363674

เปดรับบัตรเวลา 7.00 - 11.00 น.

วัน/เวลา เชา บาย EMG คลินิกพิเศษบาย

(8.30-12.00 น.) (13.00-16.30 น.) (เชา-บาย)

จันทร อ.ปรีดา อ.เสมอเดือน อ.พัทธปยา อ.รัตนา CP clinic

อ.พัทธปยา อ.เสมอเดือน

คลินิกฝงเข็ม

อ.ปรีดา

อังคาร อ. ณัฐเศรษฐ อ.ณัฐเศรษฐ อ.ปรีดา

อ.ภัทรา อ.พัทธปยา -

พุธ อ.ภัทรา อ.เอกสิทธิ์ อ.เสมอเดือน

อ.ณัฐเศรษฐ อ.ภัทรา

พฤหัสบดี อ.รัตนา อ.รัตนา อ.ภัทรา

อ.เอกสิทธิ์ อ.เอกสิทธิ์

ศุกร อ.ปรีดา กิจกรรมการเรียน อ.ณัฐเศรษฐ -

อ.พัทธปยา การสอน

การใหบริการ

1. ใหบริการตรวจรักษาและฟนฟูผูปวยท่ีมีอาการออนแรงท่ีเกี่ยวของกับระบบประสาท อาการปวดทางระบบ

กลามเนื้อและเสนประสาท

2. ใหบริการตรวจรักษาและฟนฟูผูพิการ, เด็กสมองพิการ (CP), เด็กพัฒนาการชา

3. ใหบริการฝงเข็ม เพื่อลดความปวด

4. ใหบริการการตรวจคล่ืนไฟฟากลามเน้ือ (electrodiagnosis หรือ EMG)

5. ใหบริการกายอุปกรณเทียม (prosthesis and orthosis) และอุปกรณเสริมตางๆ (assistive device)

6. ใหบริการฉีดยา ลดเกร็ง

การสงตอ

1. กรณีสงตอผูปวยมารับการตรวจคล่ืนไฟฟากลามเน้ือ (electrodiagnosis หรือ EMG) ใหแพทยหรือพยาบาล

ผูสงตอโทรมานัดที่หองตรวจเบอร 10 เวชศาสตรฟนฟู เบอรโทร 043-366674 เพ่ือนัดหมายวันตรวจใหกับ

ผูปวย กรณเีห็นวาจําเปนตองไดรับการตรวจ โดยที่ไมจําเปนตองสงตัวผูปวยมา

2. สามารถสงตัวผูปวยมาได วันจันทร-พฤหัส เวลา 9.00-15.00 น. วันศุกร เวลา 9.00-12.00 น.

Page 59: บทที่1 - @@ Home - KKU Web Hosting · สัญญาในว ันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ.2542 แต เนื่องจากในช วงเกิดวิกฤตเศรษฐก

62 การใหบริการของหองตรวจและการบริการอื่นๆ

ตารางการใหบริการผูปวยนอก หองตรวจทันตกรรม

โทรศัพทติดตอ 043 - 363485

เปดรับบัตรเวลา 7.00 - 11.00 น.

วัน ทันตแพทยออกตรวจ ผูปวยนัดหรืองานเฉพาะทาง/ รับ consult)

(8.30-12.00 น.) (13.00-16.30 น.)

จันทร ทพ.กฤชตินันท ทพ.ยุทธเกียรติ ทพญ.วัชรี ทพญ.ศุภลักษณ ทพ.กฤชตินันท ทพ.ยุทธเกียรติ

ทพญ.ศศิบุษบา ทพญ.ดลยา ทพญ.ดลยา ทพญ.วัชรี ทพญ.ศศิบุษบา

ทพญ.ศุภลักษณ

อังคาร ทพ.กฤชตินันท ทพ.ยุทธเกียรติ ทพญ.วัชรี ทพ.กฤชตินันท ทพ.ยุทธเกียรติ ทพญ.วัชรี

ทพญ.ศศิบุษบา ทพญ.ดลยา ทพญ.ศศิบุษบา ทพญ.ดลยา

ทพญ.ศุภลักษณ ทพญ.ศุภลักษณ

พุธ ทพ.ยุทธเกียรติ ทพญ.วัชร ีทพญ.ศศิบุษบา ทพญ.วัชรี (รับ consult)

ทพญ.ดลยา ทพญ.ศุภลักษณ

พฤหัสบดี ทพ.กฤชตินันท ทพ.ยุทธเกียรติ ทพญ.วัชรี ทพญ.ศศิบุษบา ทพ.กฤชตินันท ทพ.ยุทธเกียรติ

ทพญ.ศศิบุษบา ทพญ.ดลยา ทพญ.วัชรี ทพญ.ดลยา ทพญ.ศุภลักษณ

ทพญ.ศุภลักษณ

ศกุร ทพ.กฤชตินันท ทพ.ยุทธเกียรติ ทพญ.วัชรี ทพญ.ดลยา ทพญ.ศศิบุษบา ทพ.กฤชตินันท

ทพญ.ศศิบุษบา ทพญ.ดลยา ทพ.ยุทธเกียรติ ทพญ.วัชรี ทพญ.ศุภลักษณ

ทพญ.ศุภลักษณ

หมายเหตุ วันพุธ ทพ.กฤชตินันท มี case ผาตัด

หองตรวจรังสีรักษา

หองตรวจรังสีรักษา ใหบริการผูปวยโรคมะเร็งที่จําเปนตองรักษาดวยการฉายรังสีดวยวิธีตางๆ ดังตอไปนี้

1. Teletherapy คือการฉายรังสีใหผูปวย โดยท่ีตนกําเนิดของรังสีและกอนมะเร็งมีระยะทางอยูหางกัน มีหอง

ตางๆ สําหรับบริการดังนี้

1.1 หองจําลองการฉายรังสี (simulator) เปนหองจําลองเทคนิคการฉายรังสีเหมือนจริงแบบ 2 มิติกอนท่ีจะ

ทําการฉายรังสีใหกับผูปวย เพื่อปองกันความผิดพลาดทางรังสี

1.2 หองจําลองการฉายรังสีดวยเคร่ืองเอ็กซเรยคอมพิวเตอร (CT-simulator) เปนหองจําลองเทคนิคการฉาย

รังสีเหมือนจริงแบบ 3 มิติกอนที่จะทําการฉายรังสีใหกับผูปวยเพ่ือปองกันความผิดพลาดทางรังสี

1.3 หองคํานวณปริมาณรังสี กอนฉายรังสีใหกับผูปวยเพ่ือปองกันความผิดพลาด

1.4 หองฉายรงัสเีครือ่งโคบอล-60 บรกิารฉายรงัสีใหแกผูปวยโรคมะเรง็ แยกเปนสองสวนคือหองควบคุมและ

หองปลอยรังสี

1.5 หองฉายรงัสเีครือ่งเรงอนภุาค บรกิารฉายรงัสใีหแกผูปวยโรคมะเรง็ แยกเปนสองสวนคอืหองควบคมุและ

หองปลอยรังสี

2. Brachytherapy คือการฉายรังสีใหผูปวยโดยท่ีรังสีและกอนมะเร็งอยูติดกันมีหองตางๆสําหรับบริการดังนี้

2.1 หองหัตถการสําหรับใสเครื่องมือนําแร เชน ฝงเข็มนําแร เปนตน

Page 60: บทที่1 - @@ Home - KKU Web Hosting · สัญญาในว ันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ.2542 แต เนื่องจากในช วงเกิดวิกฤตเศรษฐก

การใหบริการของหองตรวจและการบริการอ่ืนๆ 63

2.2 หองใสแร แยกเปนสองสวนคือหองควบคุมและหองปลอยรังสี

3. การผาตัดดวยรังสี ไดแก

3.1 Steriotactic surgery คือการผาตัดดวยรังสีโดยใชรังสีปริมาณสูงยิงไปรอบกอนมะเร็งเพียงครั้งเดียวใช

เวลาทําประมาณ 1 วัน

3.2 Steriotactic technique คอืการผาตดัดวยรงัสโีดยใชรงัสปีรมิาณกวาปกตแิตไมสงูมากเกนิความทนของ

ผิวหนังยิงไปรอบกอนมะเร็งใชเวลาฉายรังสีประมาณ 10-15 ครั้ง

4. การฉายคลื่นความรอน คือการใชเครื่อง hypertherapy ฉายคล่ืนความรอนไปที่กอนมะเร็งที่ดื้อตอรังสี โดย

ควบคุมอุณหภูมิที่ 43 องศา จะใหผลดีในการทําลายเซลมะเร็งโดยควรฉายคล่ืนความรอนหลังฉายรังสีไมควรเกิน 2 ชั่วโมง

(ขณะนี้เครื่องชํารุดอยูในชวงงดบริการ)

5. Photodynamic คือการฉายรังสีโดยใหผูปวยไดรับยาที่กระตุนใหเกิดการไวตอแสงแลวจึงฉายแสงไปยังกอน

มะเร็งนั้นๆ (ขณะนี้เครื่องเสียอยูในชวงงดบริการ)

ตารางการใหบริการผูปวยนอก หองตรวจรังสีรักษา

โทรศัพทติดตอ 043 - 363497

เปดรับบัตรเวลา 7.00 - 11.00 น.

วัน ตรวจผูปวยใหม ตรวจระหวางฉาย ตรวจติดตามผลการรักษา

จันทร อ.วรชัย อ.จันทรศรี อ.มณเฑียร

อังคาร อ.ศรีชัย อ.วรชัย อ.จันทรศรี

อ.นฤดม

พุธ อ.มณเฑียร อ.ศรีชัย อ.วรชยั อ.คมสันต

พฤหัสบดี อ.จันทรศรี อ.คมสันต อ.ศรีชัย

อ.นฤดม

ศุกร อ.คมสันต อ.มณเฑียร อ.นฤดม

หองตรวจเวชศาสตรนิวเคลียร

ตั้งอยูที่ชั้นใตดินอาคารผูปวยนอก โรงพยาบาลศรีนครินทร ใหบริการตรวจวินิจฉัยและรักษาผูปวยดวยสาร

กมัมันตรังสี ดังนี้

1. การตรวจพิเศษทางเวชศาสตรนิวเคลียร เปนการตรวจหาความผิดปกติของอวัยวะตางๆ ของรางกายโดยการ

ใหผูปวยไดรับสารกัมมันตรังสีเขาสูรางกายดวยวิธีการฉีด รับประทาน หรือสูดเขาทางปอด จากน้ันนําผูปวยเขาถายภาพ ใน

การตรวจแตละชนิดจะมีการเตรียมตรวจแตกตางกัน ซึ่งผูที่ตองการตรวจสามารถติดตอนัดตรวจและรับคําแนะนําไดที่หอง

ตรวจเวชศาสตรนิวเคลียร ทุกวันจันทร – พฤหัสบดี เวลาราชการ นอกเวลาราชการทุกวันจันทร - ศุกร เวลา 16.30 – 20.30 น.

และวันเสารเวลา 8.00 – 12.00 น.

2. การตรวจวัดความหนาแนนของกระดูกดวยเครื่องตรวจวัดความหนาแนนของกระดูก สามารถตรวจไดโดยไม

ตองมกีารเตรยีมตรวจ สามารถตดิตอนดัตรวจไดทีห่องตรวจเวชศาสตรนวิเคลยีรทกุวนัจนัทร – พฤหสับดี เวลาราชการ นอก

เวลาราชการทุกวันจันทร - ศุกร เวลา 16.30 – 20.30 น.และวันเสารเวลา 8.00 – 12.00 น.

Page 61: บทที่1 - @@ Home - KKU Web Hosting · สัญญาในว ันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ.2542 แต เนื่องจากในช วงเกิดวิกฤตเศรษฐก

64 การใหบริการของหองตรวจและการบริการอื่นๆ

3. การตรวจรกัษาโรคของตอมไทรอยดดวยกัมมันตรงัสีไอโอดนี กมัมันตรงัสีไอโอดนี( I-131) เปนสารกมัมันตรงัสี

ทีส่ลายตวัใหรงัสแีกมมาและเบตา มคีรึง่ชวีติ 8 วนั เมือ่เขาสูรางกายจะถกูดุดซมึเขาสูเซลลของตอมไทรอยดเหมือนธาตไุอโอดนี

ปกติ การรักษาโรคของตอมไทรอยดนั้นใชรังสีเบตาจาก I-131 ซึ่งมีฤทธิ์ทําลายเซลลของตอมไทรอยดทําใหเซลลดังกลาวไม

สามารถสรางฮอรโมนไดอกี I-131 นาํมาใชรกัษาโรคของตอมไทรอยด 2 ชนิด คอื โรคมะเรง็ตอมไทรอยดและโรคตอมไทรอยด

เปนพิษ การให I-131 แกผูปวยจะใหดวยวิธีรับประทานในรูปแบบของเหลวหรืออยูในรูปของของแข็ง เชน ผง I-131 บรรจุ

แคปซูล

3.1 การตรวจรักษาผูปวยมะเร็งตอมไทรอยด ในการรักษาดวยกัมมันตรังสีไอโอดีน ผูปวยจะตองไดรับการ

ผาตัดตอมไทรอยดออกใหเหลือเน้ือไทรอยดนอยท่ีสุดเพ่ือใหการรักษาไดผลดีและปองกันการบวมของเน้ือไทรอยดท่ีเหลือ

ขณะรับการรักษาดวยกัมมันตรังสีไอโอดีน โดยอาจทํา total thyroidectomy หรือ near total thyroidectomy กอน การ

รักษาดวยกัมมันตรังสีไอโอดีนจะทําเฉพาะในผูปวยท่ีมีผลชิ้นเน้ือเปนชนิด well differentiated (papillary, follicular และ

mixed cell type) เทานั้น การเตรียมผูปวยกอนการรักษา ไดแก การเตรียมตัวเพื่อรับการตรวจ total body scan กอนการ

รักษาหรืออาจรับการรักษาไดเลย ซึ่งผูปวยจะตองงดยาไทรอยดฮอรโมนกอนการตรวจรักษา 4 สัปดาห งดยาและอาหารท่ีมี

สวนผสมของไอโอดนี 1 สปัดาห เมือ่ผูปวยจะตองรบัการรกัษาดวยกัมมันตรงัสีไอโอดนี แพทยจะรบัไวในโรงพยาบาลเปนเวลา

ประมาณ 4 – 5 วัน เนื่องจากเปนการรักษาดวยรังสีจึงตองจัดผูปวยไวในหองแยกท่ีมีอุปกรณปองกันรังสีและจํากัดบริเวณให

อยูเฉพาะในหองจนกวาจะไดรับอนุญาตจากเจาหนาที่ซึ่งจะวัดปริมาณรังสีทุกวัน ผูที่จะเขาเยี่ยมผูปวยไมอนุญาตใหสตรีตั้ง

ครรภและเด็ก สวนผูใหญเขาเยี่ยมไดตามเวลาท่ีเจาหนาที่กําหนด ดังนั้นกอนการรักษาผูปวยจะไดรับคําแนะนําจากแพทย

และพยาบาลเกีย่วกบัการรกัษา การเตรยีมตวั ตลอดจนการปฏบิตัติวัขณะรบัการรกัษาอยางละเอยีด เพือ่ใหสามารถปฏบิตัไิด

ถูกตองเปนการปองกันการแพรกระจายรังสีสูบุคคลอื่น

การตรวจรักษาผูปวยตอมไทรอยดเปนพษิดวยกัมมนัตรงัสไีอโอดีน การเตรียมผูปวย ไดแก การงดยาตานการทํางาน

ของตอมไทรอยด งดยาและอาหารท่ีมีสวนผสมของไอโอดีนกอนการตรวจรักษา 1 สัปดาห ผูปวยที่ไดรับการตรวจรักษาดวย

กมัมันตรังสไีอโอดีนจะไดรบัคาํแนะนําเกีย่วกบัการปฏบิตัติวัอยางละเอยีดจากแพทยและพยาบาล เพือ่ปองกนัการแพรกระจาย

รังสี เนื่องจากการรักษาไมจําเปนตองรับไวในโรงพยาบาล

โรงพยาบาลตางๆ ทีต่องการสงผูปวยมาตรวจพเิศษทางเวชศาสตรนวิเคลยีรทกุชนดิ สามารถโทรศพัทมานดัไดที่

เบอร 043-363346 เวชศาสตรนิวเคลียรทุกวันจันทร-พฤหัสบดี เวลาราชการ นอกเวลาราชการทุกวันจันทร- ศุกร เวลา 16.30

– 20.30 น.และวันเสารเวลา 8.00 –12.00 น.

การใหบริการตรวจรักษาผูปวยจะไมทําในผูปวยที่กําลังตั้งครรภและใหนมบุตรเน่ืองจากเปนการตรวจดวยสาร

กัมมันตรังสี ดังนั้นแพทย พยาบาลจะตองซักประวัติและแนะนําใหผูปวยคุมกําเนิดอยางเครงครัดในระหวางชวงรับการรักษา

บุคลากรท่ีปฏิบัติงานทางเวชศาสตรนิวเคลียรประกอบดวย แพทยผูเชี่ยวชาญทางเวชศาสตร-นิวเคลียร นักฟสิกส

การแพทยผูเชี่ยวชาญทางเวชศาสตรนิวเคลียร นักรังสีเทคนิคผูเชี่ยวชาญทางเวชศาสตรนิวเคลียร เภสัชกรรังสี และพยาบาล

ที่ผานการอบรมการปองกันอันตรายจากรังสี ทั้งนี้เพื่อใหสามารถปฏิบัติงานไดอยางถูกตอง ปลอดภัย รวมทั้งการปองกันการ

แพรกระจายรงัสีสูบุคคลอ่ืน

Page 62: บทที่1 - @@ Home - KKU Web Hosting · สัญญาในว ันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ.2542 แต เนื่องจากในช วงเกิดวิกฤตเศรษฐก

การใหบริการของหองตรวจและการบริการอ่ืนๆ 65

ตารางการใหบริการผูปวยนอก หองตรวจเวชศาสตรนิวเคลียร

โทรศัพทติดตอ 043 - 363895

เปดรับบัตรเวลา 7.00 - 11.00 น.

วัน แพทยออกตรวจ (8.30 - 16.30 น.)

จันทร อ.จรูญศักด์ิ

อังคาร อ.กฤษณา

พุธ อ.จรูญศกด์ิ

พฤหัสบดี อ.กฤษณา

ศุกร กิจกรรมการเรียนการสอน เปดบริการเฉพาะ

emergency case (13.00-16.30 น.)

หองตรวจรังสีวินิจฉัย

ใหบริการตรวจเอกซเรยทั่วไปและเอกซเรยพิเศษตางๆ ไดแก MRI, CT, U/S, fl uoroscopy, IVP, DSA, mam-

mogram และใหบริการรังสีรวมรักษา ไดแก การระบายนํ้ําดีผานทางหนาทอง การฉีดยาเคมีบําบัดรักษามะเร็งตับผานทาง

สายสวนหลอดเลือด

การนัดตรวจพิเศษกรณีไมเรงดวนทุกชนิดตองสงใบสั่งตรวจ (ใบ request) ที่หองเอกซเรย (ไมรับนัดทาง

โทรศัพท) ดังนี้

1. การนัดตรวจ MRI ใหสงใบสั่งตรวจท่ีอาคาร MRI

2. การนัดตรวจ CT, U/S, IVP, fl uoroscopy, DSA ใหสงใบสั่งตรวจท่ีหองเอกซเรย ชั้น 1

3. การนัดทํา mammogram ใหสงใบสั่งตรวจท่ีหองเอกซเรย อาคาร สว. 2 ชั้น 2

ตารางการใหบริการผูปวยนอก

หองตรวจสุขภาพพิเศษและคลินิกนอกเวลาราชการ

วัน /เวลา จันทร อังคาร พุธ พฤหัสบดี ศุกร เสาร

16.30-20.30 16.30-20.30 16.30-20.30 16.30-20.30 16.30-20.30 08.00-12.00

เวชปฏิบัติ อ.กิมาพร อ.ปณคพร - - อ.กิมาพร อ.ปณคพร

ทั่วไป

สูติ-นรีเวช อ.ธีระยุทธ อ.สงวนโชค อ.ศรีนารี อ.โฉมพิลาศ อ.อมรรตัน อ.ศรีนารี

อ.กีรติ อ.กีรติ อ.รัตนา

อ.พิไลวรรณ

อ.ธีระยุทธ

โรคหัวใจ อ.ทรงขวัญ อ.วิชัย อ.ไชยสิทธิ์ อ.ภัทรพงษ อ.ทรงศักด์ิ อ.วิชัย

อ.ภัทรพงษ (เสารเวนเสาร)

ผิวหนัง อ.สุทธิภัทรกิจ อ.สุทธิภัทรกจิ อ.เจริญ อ.สุทธิภัทรกิจ อ.เจริญ อ.เจริญ

Page 63: บทที่1 - @@ Home - KKU Web Hosting · สัญญาในว ันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ.2542 แต เนื่องจากในช วงเกิดวิกฤตเศรษฐก

66 การใหบริการของหองตรวจและการบริการอื่นๆ

วัน /เวลา จันทร อังคาร พุธ พฤหัสบดี ศุกร เสาร

16.30-20.30 16.30-20.30 16.30-20.30 16.30-20.30 16.30-20.30 7.00-12.00

ระบบ - - - อ.วัชรา อ.วัชรา -

ทางเดินหายใจ (เฉพาะนัด)

อายุรกรรม อ.คูขวัญ - อ.สมศักด์ิ อ.ปณิตา อ.สุดา อ.สุดา

อ.แพรว อ.ภัทรพงศ อ.ภัทรพงษ

อ.วิณวิภา อ.ดุจดาว

อ.ปณิตา

อ.ศิริลักษณ

อ.แพรว

รอไต/ - อ.ชลธปิ อ.ทวี อ.ศิริรัตน - อ.ชลธิป หรือ

เปล่ียนไต อ.ทวี หรือ

อ.ศิริรัตน

ระบบ อ.คูขวัญ - - - - อ.วัฒนา

ทางเดินอาหาร อ.คูขวัญ

จิตเวช - - - - - อ.พงศธร/ภัทรี

อ.นวนันท

กุมารเวชกรรม อ.กุสุมา อ.รัฐพล อ.จามรี อ.วบิูลย อ.รัฐพล อ.กุสุมา

หู คอ จมูก อ.พัชรีพร อ.ภาธร อ.พรเทพ อ.ธีรพร อ.สงวนศักด์ิ อ.พัชรีพร

อ.เสกสันต

ศัลยกรรม อ.ไชยยุทธ อ.กฤษดา อ.พลากร อ.ธราธิป อ.สุริยะ อ.โอวตือ

อ.อํานาจ อ.พลากร อ.ธเนศ อ.พลากร อ.ขจิตร

อ.ไชยุทธ

อ.พลากร

อ.ณรงค

อ.ณรงคชัย

ออรโธปดิกส อ.วินัย อ.ศักดา อ.วงทอง อ.วงทอง อ.วงทอง อ.สุรชัย

จักษุ อ.ภาวสุทธิ์ อ.ธรรศ อ.สิรินยา อ.สมเกียรติ อ.นิพนธ อ.พัฒนารี

อ.ชวกิจ อ.อรพิน อ.ธนภัทร อ.อรสิริ หรือ อ.ชวกิจ อ.อรสิริ

อ.อรพิน อ.พรรณทิพา

ทันตกรรม ออกตรวจ ออกตรวจ ออกตรวจ ออกตรวจ ออกตรวจ ออกตรวจ

เวชศาสตร - - - - - อ.จรูญศักดิ์

นิวเคลียร

เวชศาสตรฟนฟ ู อ.พัทธปยา - - - - อ.พัทธปยา

Page 64: บทที่1 - @@ Home - KKU Web Hosting · สัญญาในว ันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ.2542 แต เนื่องจากในช วงเกิดวิกฤตเศรษฐก

การใหบริการของหองตรวจและการบริการอ่ืนๆ 67

อัตราคาบริการวิชาชีพนอกเวลา คิดตามประกาศคณะแพทยศาสตร มข.

1. ตรวจโดยแพทยเวชปฏิบัติทั่วไป ครั้งละไมเกิน 100 บาท ตอแพทย 1 คน

2. ตรวจโดยแพทยเฉพาะทาง ครั้งละไมเกิน 250 บาท ตอแพทย 1 คน

3. คาบริการทั่วไป 50 บาท

ศูนยตติยภูมิ (excellent center)

1. ศูนยบริการโรคไต

โรงพยาบาลศรีนครนิทร คณะแพทยศาสตร มหาวทิยาลยัขอนแกน ไดเปดใหบรกิารผูปวยทีม่ปีญหาเก่ียวกับไต โดย

ใหบริการทั้งผูปวยในและผูปวยนอก เชน การตรวจวินิจฉัยภาวะผิดปกติทางไต ควบคูไปกับการเรียนการสอนและงานวิจัยท่ี

เกี่ยวกับไต การฟอกเลือดดวยเครื่องไตเทียม การลางไตทางชองทองในโรงพยาบาล (in-hospital peritoneal dialysis) การ

บําบัดทดแทนไตอยางตอเนื่อง (CRRT) และการฟอกเลือดแยกพลาสมา (apheresis) เปนตน

ทางศูนยบริการโรคไต ไดใหบริการแบบครบวงจร โดยจัดเปนคลินิกตาง ๆ ดังตอไปนี้

1.1. คลินกิชะลอไตเส่ือม (CKD clinic) เพ่ือใหบริการดูแลรักษาผูปวยไตเส่ือมเพ่ือปองกันและชะลอการเส่ือม

ของไต กลุมผูปวย ไดแก ผูปวยทีม่โีรคไตเรือ้รงัและผูปวยกลุมเสีย่งตอการเกดิโรคไตเรือ้รงั เชน เบาหวาน, ความดนัโลหิตสงู,

เกาท เปนตน

สถานท่ีใหบริการ ศูนยบริการโรคไต ชั้น 3 อาคารสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี ทุกวันอังคาร เวลา

9.00 – 12.00 น.

ติดตอสอบถาม โทร. 043-366915-6 ในเวลาราชการ

1.2 คลนิกิลางไตทางชองทองหรอืคลนิกิซเีอพดี ี(CAPD clinic) เพือ่ใหบรกิารดูแลรกัษาผูปวยไตวายเร้ือรงัที่

รกัษาดวยการลางไตทางชองทองและเพ่ือปองกนัภาวะแทรกซอนและสงเสริมคุณภาพชีวติ กลุมผูปวย ไดแก เปนผูปวยไตวาย

เร้ือรังระยะสุดทายท่ีตองการบําบัดทําแทนไตท่ีผานการประเมินจากคลินิกคลินิกโรคไต และผานการรับคําปรึกษาเพ่ือเลือก

วิธีการบําบัดทดแทนไตจากพยาบาลหนวยไตและไตเทียม

สถานที่ใหบริการ ศูนยบริการโรคไต ช้ัน 3 อาคารสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี ทุกวันจันทร – วันศุกร

เวลา 8.00 – 12.00 น. (ยกเวนวันอังคาร)

ติดตอสอบถาม โทร. 043-366915-6 ในเวลาราชการ หรือ 089-7111229 เวลา 8.00 – 20.00 น. ทุกวัน

หมายเหตุ

1. นอกชวงเวลาดังกลาวใหติดตอในวันตอไป

2. หากมีกรณีฉกุเฉินใหพบแพทยทีโ่รงพยาบาลใกลบาน หรอืมาตรวจท่ีหองตรวจอุบตัเิหตุฉกุเฉิน โรงพยาบาล

ศรนีครินทรไดตลอด 24 ช.ม.

1.3 คลินิกโรคไตทั่วไป (general kidney clinic) ใหบริการดูแลรักษาผูปวยโรคไต และเตรียมความพรอม

และใหขอมลูผูปวยทีต่องการผาตดัเปลีย่นไตทีม่ญีาตบิรจิาคไตให หรือรอรบัไตจากผูปวยสมองตาย กลุมผูปวย ไดแก ผูปวย

โรคไตทุกชนิดที่สงปรึกษาจากแผนกตางๆ และผานการประเมินจากอายุรแพทยโรคไต

สถานที่ใหบริการ หองตรวจอายุรศาสตร เบอร 8 ทุกวันพุธ เวลา 13.00 – 16.00 น.

ติดตอสอบถาม หรือมีกรณีเลื่อนนัด โทร. 043-363022-5 ในเวลาราชการ

1.4 คลนิกิผูปวยหลังผาตดัเปล่ียนไต (post-KT clinic) เพือ่ใหบรกิารใหบรกิารผูปวยปลกูถายไตทีไ่ดรบัการ

ปลูกถายไตที่โรงพยาบาลศรีนครินทร กลุมผูปวย ไดแก ไดรับการปลกูถายไตที่โรงพยาบาลศรีนครินทร

Page 65: บทที่1 - @@ Home - KKU Web Hosting · สัญญาในว ันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ.2542 แต เนื่องจากในช วงเกิดวิกฤตเศรษฐก

68 การใหบริการของหองตรวจและการบริการอื่นๆ

สถานที่ใหบริการ ศูนยบริการโรคไต ชั้น 3 อาคารสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี

ติดตอสอบถาม ผูปวยหลังผาตัดเปล่ียนไต

1. กรณเีจบ็ปวยท่ีรบีดวน เชน ไขสงู หนาวสัน่ เหนือ่ย หอบ แนนหนาอกใหสงแพทยทีต่กึอบุตัเิหตฉุกุเฉนิดวน

2. กรณีมีอาการผิดปกติที่ไมรีบดวน และไมรุนแรงใหมากอนนัดในวันท่ีมีคลินิก วันอังคาร และวันพฤหัส

(เวลา 16.00-19.30 น.) วันพุธ (เวลา 13.00 น.-19.00 น.)

2.1 โทรศัพทปรึกษาไดที่เบอร 083-0066486 เวลา 08.30-20.00 น.

2.2 โทรศัพทแจงเลื่อนนัดไดที่เบอร 043-366906, 043-366915

3. การใหคําปรึกษาทางโทรศัพทเกี่ยวกับการเจ็บปวย โทร 083-0066486 เวลา 08.30-20.00น.

4. การใหคาํปรกึษาทางอิเลคทรอนกิสสามารถปรกึษาไดที ่e-mail-address: [email protected] อเีมล

นี้จะถูกปองกันจากสแปมบอท แตคุณตองเปดการใชงานจาวาสคริปกอน

1.5 คลินิกผูปวยรอไต (waiting list clinic) เพื่อใหบริการดูแลผูปวยและเตรียมความพรอมดาน

สุขภาพของผูปวยรอเปลี่ยนไต กลุมผูปวย ไดแก ผูปวยที่ไดรับการบําบัดทดแทนไตวิธีใดวิธีหนึ่ง ที่ขึ้นทะเบียนรอเปล่ียนไต

สถานที่ใหบริการ คลินิกนอกเวลาราชการ ทุกวันเสาร เวลา 08.00 – 12.00 น.

ติดตอสอบถาม โทร. 043-366906, 043-366915 ในเวลาราชการ

1.6 คลินิกฟอกเลือดดวยเครื่องไตเทียม เพื่อใหบริการผูปวยไตวายเร้ือรังที่รักษาดวยการฟอกเลือด

ดวยเครื่องไตเทียม กลุมผูปวย ไดแก ผูปวยที่รอปลูกถายไต และรับการฟอกเลือดดวยเคร่ืองไตเทียม

สถานทีใ่หบรกิาร ศนูยบรกิารโรคไต ชัน้ 3 อาคารสมเด็จพระศรนีครนิทราบรมราชชนน ีอนสุรณ วนัจนัทร

– วันศุกร เวลา 08.00 – 16.00 น.และใหบริการนอกเวลาราชการในวันอังคาร เวลา 16.20 น. วันเสาร เวลา 8.00 – 12.00 น.

ติดตอสอบถาม โทรศัพท. 043 – 366915-6

1.7 คลินิกฟอกเลือดดวยเคร่ืองไตเทียม มูลนิธิจิตตานุเคราะห 4จ ซึ่งไดรับการสนับสนุนจากมูลนิธิ

จิตตานุเคราะห เพื่อใหบริการดังนี้

1.7.1 เปนบริการเสริมของโรงพยาบาลเพ่ือผูปวยที่ดอยโอกาส

1.7.2 ใหบริการผูปวยโรคไตวายระยะสุดทายดวยเคร่ืองไตเทียมโดยทีมแพทย และพยาบาล

ผูเชี่ยวชาญดานโรคไต

1.7.3 เปนผูปวยบัตรประกันสุขภาพ หรือประกันสังคมที่สิทธิ์ไมครอบคลุมกรณีฟอกเลือด

1.7.4 เปนหนวยงานต้ังขึ้นใหม อยูภายในรพ.ศรนีครินทร แตแยกบริหารจัดการ

1.7.5 เปนมูลนิธิเอกชน ทําเพ่ือการกุศล ไมหวังผลกําไร

กลุมผูปวย ไดแก

1. ผูปวยสิทธิบัตรประกันสุขภาพ หรือประกันสังคม แตยังไมไดสิทธิชดเชยกรณีฟอกเลือด

2. เปนผูปวยที่มีอายุ 15 – 55 ป มีโอกาสเปล่ียนไต ชวยเหลือตนเองได

3. มีผลการตรวจไวรัสตับอักเสบบี ไวรัสตับอักเสบซี และไวรัสเอชไอวี เปนลบ

4. สามารถรวมจาย 500 บาท ตอหนึ่งการรักษา หรือในจํานวนท่ีคณะทํางานดูแลโครงการกําหนด

หรือตามสิทธิที่ไดรับจากภาครัฐ

สถานที่ใหบริการ หอผูปวย 4จ วันจันทร – วันเสาร เวลา 07.00 – 22.00 น.

ตดิตอสอบถามท่ี คณุหลอม นาสุรวิงษ ทกุวนัจนัทร – ศกุร เวลา 8.00 – 16.00 น. โทร.043 – 363526

สนใจขอมูลเพิ่มเติม สามารถเขาชมไดที่ http://home.kku.ac.th/kidneykk/service2.php

Page 66: บทที่1 - @@ Home - KKU Web Hosting · สัญญาในว ันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ.2542 แต เนื่องจากในช วงเกิดวิกฤตเศรษฐก

การใหบริการของหองตรวจและการบริการอ่ืนๆ 69

2. ศูนยระบบทางเดินหายใจ

มีโรคบางโรคท่ีไมสามารถพบโดยการเอ็กซเรย (X-Ray) แตสามารถตรวจพบไดดวยการตรวจสมรรถภาพปอด เชน

โรคหืด โรคหลอดลมอุดกั้นเรื้อรัง โรคหลอดลมปอดโปงพอง โรงพยาบาลศรีนครินทร คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัย

ขอนแกน จึงไดจัดใหมีการบริการหองตรวจสมรรถภาพปอดขึ้น ภายในหนวยระบบทางเดินหายใจ ซึ่งใหบริการในการตรวจ

ตาง ๆ ดังนี้

การใหบริการ

1. ตรวจสมรรถภาพปอด

2. ตรวจสมรรถภาพปอด และทดสอบความไวหลอดลม เพื่อวินิจฉัยโรคหืด

3. ตรวจสมรรถภาพปอดผูรับบริการตรวจสุขภาพประจําป (ทุกวัน)

4. ตรวจสมรรถภาพปอดในโอกาสพิเศษ เชน วันศรีนครินทร/ วันมหิดล/ ออกหนวยอาชีวอนามัย

5. ตรวจสมรรถภาพปอดอยางละเอียด (body phethysmography)

6. ตรวจการดูดซึมของกาซในปอด

7. ตรวจความผิดปกติเกี่ยวกับการนอน (polysomnography)

8. บริการคลินิกเฉพาะโรค

8.1 คลินิกโรคหืดและถุงลมโปงพอง

8.2 คลินิกเลิกบุหรี่

8.3 คลินิกโรคนอนกรน

บริการคลินิกเฉพาะโรค

1. คลินิกโรคหืดและถุงลมโปงพอง (asthma and COPD clinic)

ในเวลาราชการ ใหบริการที่หองตรวจเบอร 8 ทุกวันพฤหัสบดี เวลา 08.30-12.00น.

นอกเวลาราชการ ใหบริการที่คลินิกนอกเวลาราชการ ทุกวันพฤหัสบดีและวันศุกร เวลา 16.30 – 20.30 น.

การบริการ

1. ตรวจสมรรถภาพปอด

2. ขึ้นทะเบียนผูปวยโรคหืด

3. พบแพทยผูเชี่ยวชาญ

4. รับคําแนะนําเรื่องโรคหืด โรคถุงลมโปงพองและการปฏิบัติตัวเพื่อการดูแลตนเอง

5. ติดตามการรักษาอยางตอเน่ือง

2. คลินิกเลิกบุหรี่ (smoking cessation)

ในเวลาราชการ ใหบริการที่หองตรวจสมรรถภาพปอด ทุกวันจันทร–ศุกร เวลา 08.30-16.30 น.

การบริการ

1. ตรวจสมรรถภาพปอด

2. ใหคําแนะนําวิธีเลิกบุหรี่

3. ติดตามประเมินตอเนื่อง

3. คลินิกโรคนอนกรน (sleep clinic)

ในเวลาราชการ ใหบริการท่ีหองตรวจสมรรถภาพปอดทุกวันจันทร- อังคารสัปดาหสุดทายของเดือน เวลา

08.30 – 16.30 น.

นอกเวลาราชการ ใหบริการที่หองตรวจสมรรถภาพปอดทุกวันจันทรสัปดาหสุดทายของเดือน เวลา

16.30 –20.30 น.

Page 67: บทที่1 - @@ Home - KKU Web Hosting · สัญญาในว ันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ.2542 แต เนื่องจากในช วงเกิดวิกฤตเศรษฐก

70 การใหบริการของหองตรวจและการบริการอื่นๆ

ขั้นตอนการใหบริการ

1. ผูปวยที่ไดรับการตรวจท่ีหองตรวจตาง ๆ หรือ ไดรับการรักษาท่ีหอผูปวยใน แพทยวินิจฉัยอาการ

2. แพทยสงตรวจสมรรถภาพปอด ที่หองตรวจสมรรถภาพปอด

3. เมื่อไดรับการตรวจสมรรถภาพปอดแลว จะไดรับคําแนะนํา และการปฏิบัติดูแลตนเอง

4. จากน้ันจะสงผูปวยกลับหองตรวจ/ หอผูปวย

สนใจสอบถามรายละเอียดเพิ่มเติม ไดที่ หนวยระบบทางเดินหายใจ(หองตรวจสมรรถภาพปอด) อาคารสมเด็จ

พระศรีนครินทราบรมราชชนนีอนุสรณชั้น 3 โทรศัพท 043-366-224

3 ศูนยจักษุและการรักษาดวยเลสิค

โรงพยาบาลศรีนครนิทร คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลยัขอนแกน เปนศนูยบรกิารรกัษาผูปวยโรคตาทีซ่บัซอนเพยีง

แหงเดียวในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และยังเปนสถาบันฝกอบรม และผลิตจกัษุแพทยเพยีงแหงเดียวในภูมิภาคน้ีจงึมีความ

จาํเปนตองพฒันาขดีความสามารถในการบรกิารผูปวยโรคตาใหครบวงจร เพือ่เปนทางเลอืกใหมของการแกปญหาสายตาดวย

เลสิค นอกจากจะเปนศูนยเลสิคที่รองรับผูปวยในภาคตะวันออกเฉียงเหนือแลว ยังเปนศูนยเลสิคที่ใหบริการครอบคลุม ถึง

ประเทศเพ่ือนบาน เชน ประชาชนในสาธารณประชาธิปไตยประชาชนลาว ตลอดจนประเทศเวียดนามและประเทศขางเคียงได

อีกดวย

ศนูยเลสคิแหงนี ้จดัตัง้ข้ึนโดยมุงเนนการใหบรกิารทีไ่ดระดับมาตรฐานสากลประกอบดวยทมีแพทยทีเ่ชีย่วชาญทาง

ดานกระจกตาและการผาตัดสายตาผิดปกติ เจาหนาท่ีทีไ่ดรบัการฝกอบรมเปนอยางดี สามารถใหบริการใหกบัผูทีม่สีายตาผิด

ปกติ ตลอดจนเปนสถาบันอบรมที่มีความทันสมัยทัดเทียมนานาชาติ

เลสิค เปนวิธีการผาตัดรักษาภาวะสายตาผิดปกติ (สายตาส้ัน สายตายาว โดยกําเนิด และ สายตาเอียง)โดยใชเครื่อง

แยกชั้นกระจกตา microkeratome แยกชั้นกระจกตาใหมีความหนา ประมาณ 1 ใน 3 ของความหนาของกระจกตาท้ังหมด

แลวใช excimer laser ขัดเนื้อกระจกตา ชั้นกลางเพื่อเปล่ียนความโคง ของกระจกตาโดยรวม แลวจึงปดผิว กระจกตาเขาท่ี

เดิม

ที่ตั้งศูนยเลสิค

อยูที่อาคารสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี อนุสรณ ชั้น 1 โรงพยาบาลศรีนครินทร

4. ศูนยตรวจสุขภาพเคลื่อนที่

เปนพฒันาการใหบรกิารตรวจสุขภาพท้ังภายในและภายนอกสถานท่ีของโรงพยาบาล ศรนีครินทร คณะแพทยศาสตร

มหาวทิยาลยัขอนแกน ซึง่จะใหบรกิารตรวจสุขภาพแกประชาชนท่ัวไป และหนวยงานหรือสถานประกอบการตาง ๆ ทีส่นใจรบั

บรกิาร ศนูยตรวจสุขภาพเคล่ือนท่ีไดนาํคณะบุคลากรทางการแพทย ประกอบดวยหนวยรังสวีนิจิฉยั หนวยงานหองปฏิบตักิาร

เวชศาสตรชันสูตร งานเวชปฏิบัติครอบครัว งานหองตรวจสุขภาพ หนวยงานอาชีวอนามัย ภาควิชาโสต ศอ นาสิกและ หนวย

ประสานงานการแพทย ออกใหบรกิารตรวจสุขภาพประจําป โดยใชรถ X-ray digital ประสิทธภิาพสูง ในการใหบรกิาร นอกจาก

นี้ยงัมีเครื่องตรวจความสมบูรณของเลือด เครื่องตรวจวิเคราะหปสสาวะ เครื่องตรวจทางชีววิทยา เครื่องตรวจสารเคมีตาง ๆ

ในเลือด เครื่องวัดความดัน เครื่องตรวจสมรรถภาพปอด เครื่องตรวจการไดยิน เปนตน

Page 68: บทที่1 - @@ Home - KKU Web Hosting · สัญญาในว ันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ.2542 แต เนื่องจากในช วงเกิดวิกฤตเศรษฐก

การใหบริการของหองตรวจและการบริการอ่ืนๆ 71

การใหบริการ

1. ตรวจสุขภาพท่ัวไปโดยแพทยผูเชี่ยวชาญ

2. ตรวจ X-Ray โดยเครื่อง X-Ray mobile digital

3. ตรวจเลือดเพื่อหาปริมาณสารตาง ๆ

4. ตรวจความเส่ียงทางชีวอนามัย เชน ตรวจการไดยิน สมรรถภาพปอด สายตา

5. มีรายงานสรุปผลการตรวจสุขภาพเฉพาะบุคคล และผลรวมการตรวจสุขภาพของบุคลากรท้ังสถาน

ประกอบการ

เปดใหบริการตั้งแต 8.30 น. -16.30 น. ตั้งแตวันจันทร – วันศุกร

สนใจรายละเอียดและขอมลูเพิม่เตมิ สามารถติดตอไดที ่ศนูยตรวจสุขภาพเคล่ือนที ่คลนิกิบรูณาการ อาคารสมเด็จ

พระศรีนครินทราบรมราชชนนีอนุสรณ ชั้น 1 โทร.043-203-943, 043-203-945

5. หนวยรักษปทุม

ที่ตั้ง

อาคารสมเดจ็พระศรนีครนิทราบรมราชชนน ี อนุสรณ ชัน้ 3 หมายเลขโทรศัพท 043-366919-20 Fax ; 043-204504

วัตถุประสงค

1. ใหบริการผูปวยมะเร็งเตานมแบบครบวงจร

2. พัฒนาระบบบริการผูปวยมะเร็งเตานม

3. เปนศูนยกลางและเปนแหลงขอมูลขาวสาร

4. เพื่อพัฒนางานวิจัยในการดูแลผูปวยมะเร็งเตานม

5. เปนเครือขายชมรมรักษปทุม

ศัลยแพทยประจําหนวย

1. ผูชวยศาสตราจารยดําเนิน วชิโรดม

2. รองศาสตราจารยโอวตือ แซเซียว

3. รองศาสตราจารยไชยยุทธ ธนกิจไพศาล

4. ผูชวยศาสตราจารยธเนศ รังษีขจี

5. รองศาสตราจารยพจนชวิทย อภินิเวศ

รังสีแพทย รองศาสตราจารยจิราภรณ ศรีนครินทร

พยาบาลประจําหนวย นางสาวเพ็ญศรี สอนภิรมย

กิจกรรมการบริการ

ใหการบริการผูปวยโรคเตานม/มะเร็งเตานม

1. เปดใหบริการตรวจรักษาพยาบาลผูปวยนอก ในเวลาราชการ ตั้งแตเวลา 8.00–16.00 น.

2. ใหบรกิารตรวจรักษาพยาบาลผูปวยโรคมะเร็งเตานมโดยทีมสาขาวิชาชีพประกอบดวยแพทยผูเช่ียวชาญ

เฉพาะทางดานศัลยกรรม รังสีวินิจฉัย รังสีรักษา พยาธิวิทยา และทีมพยาบาล

3. ใหบริการตรวจวินิจฉัยทางรังสีวิทยาดวยเคร่ืองดิจิตอลแมมโมแกรม พรอมชุดตัดช้ินเน้ือสงตรวจ

(needle guide biopsy)

4. ใหบริการผาตัดเพื่อสงชิ้นเน้ือตรวจ

5. บริการใหคําปรึกษา ใหขอมูลและฝกทักษะการตรวจเตานมดวยตนเองอยางถูกวิธีโดยทีมแพทยและ

พยาบาลท่ีชํานาญเฉพาะทาง

Page 69: บทที่1 - @@ Home - KKU Web Hosting · สัญญาในว ันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ.2542 แต เนื่องจากในช วงเกิดวิกฤตเศรษฐก

72 การใหบริการของหองตรวจและการบริการอื่นๆ

ขั้นตอนการใชบริการ

1. ผูปวยเกาตดิตอใชบริการตรวจรักษาตามวันและเวลาท่ีแพทยนดั ยืน่บัตรนัดทีห่นวย ในวันทีม่าใชบริการ

2. ผูใหมและเกาที่ไมไดนัด ยื่นบัตรโรงพยาบาลท่ีหนวยเวชระเบียน แจงความประสงคที่จะตรวจท่ีหนวย

รักษปทุม การเขาตรวจจะเปนคิวตอจากกลุมที่นัดไว ถาคิวนัดเต็มจะนัดเปนคิววันถัดไป ใหผูมาใชบริการเลือกวัน เวลานัดท่ี

สะดวกมาติดตอบริการ

3. ถามาตรวจ รอพบแพทยตามข้ันตอนและตามลําดับคิว

4. กรณีนัดทําแมมโมแกรม อาจไดทําในวันน้ันๆถาคิววาง ถาคิวเต็มจะรับนัด ผูปวยสามารถเล่ือนคิวนัด

ตามวันเวลาที่วางได

5. กรณีเจาะดูดเซลลสงตรวจ(FNA) bard biopsy core biopsy ทําในวันน้ันๆและนัดฟงผล 3 สัปดาห

6. เจาหนาที่จะใหขอมูลกอนเขารับการตรวจทุกขั้นตอนและแนะนําหลังการตรวจ พรอมนัดวันเวลาเพื่อ

มาพบแพทยลวงหนา

7. การแตงกายควรสวมเส้ือที่ถอดออกและใสงาย

ตารางการใหบริการผูปวยนอก

หนวยรักษปทุม

วัน-เวลา เวลา 08.30 – 12.00 น. 13.00 – 16.30 น.

จันทร บริการตรวจรักษาศัลยกรรมโรคเตานม 1. ใหบริการตอจากภาคเชา

อ.ดําเนิน และ อ.ธเนศ 2. บริการเจาะช้ินเน้ือโรคเตานม

บริการตรวจทางรังสีวินิจฉัย mammogram 3. ดูแลผูปวยกอนและหลังเจาะช้ินเน้ือ

เจาะช้ินเนื้อเตานม อ.จิราภรณและทีมรังสีแพทย 4. ดูแลผูปวยมาทําดิจิตอลแมมโมแกรม

อังคาร บริการตรวจรักษาศัลยกรรมโรคเตานม 5. ใหคําปรึกษา/ใหขอมูล

อ.โอวตือ อ.ไชยยุทธ 6. ฝกทักษะการตรวจเตานมดวยตนเอง

บริการตรวจทางรังสีวินิจฉัย mammogram 7. ลงทะเบียนผูปวย

เจาะชิ้นเนื้อเตานม อ.จิราภรณและทีมรังสีแพทย 8. รับนัดผูปวยใหม

พุธ บริการตรวจรักษาศัลยกรรมโรคเตานม 9. สงช้ินเน้ือตรวจทางพยาธิ

อ.ดําเนิน

บริการตรวจทางรังสีวินิจฉัย mammogram

เจาะชิ้นเนื้อเตานม อ.จิราภรณและทีมรังสีแพทย

พฤหัส บริการตรวจรักษาศัลยกรรมโรคเตานม

อ. พจนชวิทย

บริการตรวจทางรังสีวินิจฉัย mammogram

เจาะชิ้นเนื้อเตานม อ.จิราภรณและทีมรังสีแพทย

ศุกร งดใหบริการตรวจรักษาศัลยกรรมโรคเตานม

บริการตรวจทางรังสีวินิจฉัย mammogram

เจาะชิ้นเนื้อเตานม อ.จิราภรณและทีมรังสีแพทย

Page 70: บทที่1 - @@ Home - KKU Web Hosting · สัญญาในว ันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ.2542 แต เนื่องจากในช วงเกิดวิกฤตเศรษฐก

การใหบริการของหองตรวจและการบริการอ่ืนๆ 73

อัตราคาบริการ

1. คาเจาะช้ินเนื้อ โดยเครื่องตรวจหาและตัดช้ินเน้ือที่เตานมโดยคล่ืนเสียง 15,761 บาท

2. คาเจาะดูดเซลลชิ้นเนื้อเตานมไปตรวจ (FNA) 700 บาท

3. คาตรวจเอ็กซเรยเตานมดวยเครื่องดิจิตอล (digital mammogram) 2,000 บาท

4. คาตรวจแมมโมแกรมธรรมดา 1,700 บาท

5. คาตรวจอัลตราซาวดเตานม 650 บาท

6. การบริการอื่นๆ

1. การบริการรักษาดวยเครื่องปรับบรรยากาศความดันสูง (Hyperbaric Oxygen Therapy ; HBO)

ขอบงชี ้(ตามความเหน็จากคณะกรรมการบรหิารราชวทิยาลัยอายรุแพทย อางจาก Undersea and hyperbaric

medicine)

1. ใชเปนการรักษาปฐมภูมิ (primary treatment)

1.1 Air and gas embolism

1.2 Decompression sickness

2. ใชเปนทางเลือกในการรักษา (preferred treatment)

2.1 Carbon monoxide poisoning

3. ใชเปนการรักษาเสริม (adjunctive treatment)

3.1 กลามเนื้ออักเสบและเนาตายจากการติดเช้ือ Clostidium (gas gangrene)

3.2 การบาดเจ็บเนื่องจากอุบัติเหตุรุนแรง (crush injury) มีการเพ่ิมความดันในชองกลามเน้ือ (com-

partmental syndrome) หรือเนื้อเยื่อขาดเลือดจากการบาดเจ็บ (acute traumatic ischemia)

3.3 โรคแผลเรือ้รงัทีไ่มตอบสนองตอการรกัษาโดยวธิมีาตรฐาน เชน แผลเบาหวาน แผลกดทบั หรอืแผล

เนื่องจากการไหลเวียนในหลอดเลือดผิดปกติ เปนตน

3.4 การติดเชื้อที่ทําใหเกิดการตายของเน้ือเย่ืออยางรุนแรง (necrotizing soft tissue infection)

3.5 กระดูกติดเชื้อเรื้อรังที่ไมตอบสนองตอการรักษามาตรฐาน (refractory osteomyelitis)

3.6 ผูปวยท่ีไดรบับาดเจ็บจากรังสรีกัษา (radiation injury) เชน กระดูกขาดเลือดตาย (osteonecrosis)

ฟนผุ และการอักเสบของเนื้อเยื่อเนื่องจากรังสีรักษา (radiation proctitis, radiation cystitis)

3.7 การปลูกถายผิวหนังที่มีแนวโนมติดยาก (compromised skin graft or fl ap)

3.8 แผลไหมจากความรอน (thermal burn)

3.9 ฝในเนื้อสมอง (intracranial abscess)

การรักษาโรคอ่ืนนอกเหนือจากขอบงชี้ดังกลาวอาจพิจารณาเปนรายๆ ไป และขึ้นอยูกับความคุมคา

ลักษณะการใหบริการ

1. เปดใหบริการทั้งผูปวยนอกและผูปวยใน

2. โดยทั่วไปผูปวยตองไดรับการรักษายางตอเน่ือง 20-30 ครั้ง ๆ ละ 60-90 นาที ขึ้นอยูกับโรคของผูปวย

หมายเหตุ

1. สําหรับผูปวยใน : เนื่องจากหนวย HBO ไมสามารถทําการ admit ผูปวยในได และสวนใหญใชเปนการรักษา

เสริมจากวิธีมาตรฐาน ดังนั้นผูปวยในจําเปนตองรับไวรักษาในหอผูปวยและอยูภายใตการดูแลของแพทยเจาของไขตามสาขา

วิชานั้นๆ

Page 71: บทที่1 - @@ Home - KKU Web Hosting · สัญญาในว ันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ.2542 แต เนื่องจากในช วงเกิดวิกฤตเศรษฐก

74 การใหบริการของหองตรวจและการบริการอื่นๆ

2. สําหรับผูปวยนอก : เนื่องจาก HBO เปนการรักษาอยางตอเน่ืองในวันราชการ ดังน้ันผูปวยจะตองสามารถ

เดินทางไปกลับไดสะดวก หรือแพทยเจาของไขอาจพิจารณารับไวเปนผูปวยใน

3. เนื่องจาก HBO เปนเครื่องที่สามารถใหบริการไดคราวละ 1 คน (monoplace) ดังนั้นจึงสามารถใหบริการไดไม

เกินวันละ 4-5 ราย

การสงปรึกษา

1. สําหรับผูปวยนอก ใหสงปรกึษาที่หองตรวจอายุรกรรม 8 วันจันทร บาย

2. สาํหรบัผูปวยใน ใหสงใบ consult ไปทีภ่าควิชาอายุรศาสตร และใหระบใุนใบ consult วาสงปรกึษาหนวย HBO

2. โปรแกรมการตรวจสุขภาพประจําป

โปรแกรมที่ 1

1. เอ็กซเรยปอดและหัวใจ

2. ตรวจปสสาวะ

3. ตรวจอุจจาระ

4. ตรวจภาวะโลหิตจางและโรคเลือด

5. รับการตรวจรางกายจากแพทย

6. ตรวจภายใน และมะเร็งปากมดลูก (ผูหญิง)

คาตรวจ

ผูชาย 580 บาท (ตรวจขอ 1-5)

ผูหญิง 780 บาท (ตรวจขอ 1-6)

โปรแกรมที่ 2

1. เอ็กซเรยปอดและหัวใจ

2. ตรวจปสสาวะ

3. ตรวจอุจจาระ/ occult blood

4. ตรวจภาวะโลหิตจางและโรคเลือด

5. ตรวจนํ้ําตาลในเลือด

6. ตรวจการทํางานของตับ

7. ตรวจการทํางานของไต

8. ตรวจไขมันคลอเรสเตรอล

9. ตรวจไขมันไตรกลีเซอไรด

10. ตรวจไขมัน HDL, LDL

11. ตรวจหาโรคเกาท

12. รับการตรวจรางกายจากแพทย

13. ตรวจภายในและมะเร็งปากมดลูก (ผูหญิง)

คาตรวจ

ผูชาย 1,300 บาท ตรวจเฉพาะขอ 1-12

ผูหญิง 1,500 บาท ตรวจขอ 1-13

Page 72: บทที่1 - @@ Home - KKU Web Hosting · สัญญาในว ันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ.2542 แต เนื่องจากในช วงเกิดวิกฤตเศรษฐก

การใหบริการของหองตรวจและการบริการอ่ืนๆ 75

โปรแกรมที่ 3

1. เอ็กซเรยปอดและหัวใจ

2. ตรวจปสสาวะ

3. ตรวจอุจจาระ/ occult blood

4. ตรวจภาวะโลหิตจางและโรคของโลหิต

5. ตรวจนํ้ําตาลในเลือด

6. ตรวจการทํางานของตับ

7. ตรวจการทํางานของไต

8. ตรวจไขมันคลอเรสเตรอล

9. ตรวจไขมันไตรกลีเซอไรด

10. ตรวจไขมัน HDL, LDL

11. ตรวจหาโรคเกาท

12. ตรวจอัลตราซาวดชองทอง

13. ตรวจคลื่นไฟฟาหัวใจ

14. ตรวจสมรรถภาพปอด

15. รับการตรวจรางกายจากแพทย

16. ตรวจภายในและตรวจหามะเร็งปากมดลูก (ผูหญิง)

คาตรวจ

ผูชาย 2,450 บาท (ตรวจเฉพาะขอ 1-15)

ผูหญิง 2,650 บาท (ตรวจขอ 1-16)

ทานสามารถเลือกตรวจเพิ่มได ดังนี้

1. ตรวจหาเช้ือไวรัสตับอักเสบบี (HBsAg) ราคา 130 บาท

2. ตรวจหาภูมิตานทานตอเช้ือไวรัสตับอักเสบบี (Anti-HBs) ราคา 180 บาท

3. ตรวจหาเช้ือไวรัสตับอักเสบซี (Anti-HCV) ราคา 300 บาท

4. ตรวจหาเช้ือไวรัสเอดส (Anti-HI) ราคา 140 บาท

5. ตรวจหาเช้ือซิฟลิส (VDRL) ราคา 50 บาท

6. ตรวจหมูเลือด ราคา 100 บาท

โปรแกรมที่ 4

1. เอ็กซเรยปอดและหัวใจ

2. ตรวจปสสาวะ

3. ตรวจอุจจาระ/ occult blood

4. ตรวจภาวะโลหิตจางและโรคของเลือด

5. ตรวจนํ้ําตาลในเลือด

6. ตรวจการทํางานของตับ

7. ตรวจการทํางานของไต

Page 73: บทที่1 - @@ Home - KKU Web Hosting · สัญญาในว ันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ.2542 แต เนื่องจากในช วงเกิดวิกฤตเศรษฐก

76 การใหบริการของหองตรวจและการบริการอื่นๆ

8. ตรวจไขมันคลอเรสเตรอล

9. ตรวจไขมันไตรกลีเซอไรด

10. ตรวจไขมัน HDL, LDL

11. ตรวจหาโรคเกาท

12. ตรวจอุลตราซาวดชองทอง

13. ตรวจคลื่นไฟฟาหัวใจ

14. ตรวจสมรรถภาพปอด

15. ตรวจหาเช้ือไวรัสตับอักเสบบี

16. ตรวจหาเช้ือไวรัสเอดส

17. ตรวจหาเช้ือซิฟลิส

18. รับการตรวจรางกายจากแพทย

19. ตรวจภายในและตรวจหามะเร็งปากมดลูก

คาตรวจ

ผูชาย 2,777 บาท (ตรวจเฉพาะขอ 1-18)

ผูหญิง 2,970 บาท (ตรวจขอ1-19)

หมายเหตุ การเบิกของผูใชสิทธิสวัสดิการขาราชการ

1. ขาราชการชายอายุตํํ่ํากวา 35 ป เบิกได 380 บาท

2. ขาราชการหญิงอายุตํํ่ํากวา 35 ป เบิกได 580 บาท

3. ขาราชการชายอายุเกิน 35 ป เบิกได 580 บาท

4. ขาราชการหญิงอายุเกิน 35 ป เบิกได 1,050 บาท

5. ไมสามารถใชสิทธิเบิกระบบจายตรงได

ศูนยจองหองพิเศษ

โรงพยาบาลศรีนครินทร มศีนูยจองพิเศษ ตัง้อยูทีช่ัน้ 1 อาคารสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนีอนุสรณ (อาคาร

19 ชั้น) ทางโรงพยาบาลไดเปดใหบริการหองพักรักษาท่ีชั้น 6 และอาคาร 19 ชั้น ภายในช้ัน 6, 9, 11, 12, 13 และ 15 มีประเภท

หองดังนี้

ประเภทหองพิเศษ ราคาเต็ม (บาท) จํานวนเตียงที่ใหบริการ (เตียง)

เตียงรวม 600 66

เดี่ยวเล็ก 700 21

เดี่ยวใหญ 800 22

Super ชั้น 6 1,150 10

Super อาคาร 19 ชั้น 1,350 79

VIP 2,150 15

หมายเหต ุ: ขาราชการใชสิทธิ์ได 600 บาท ประกันสุขภาพ, ประกันสังคม ใชสิทธิ์ได 300 บาท

หอผูปวยพิเศษรวมชั้น 9A, 9B และ 9C ไมรับจองลวงหนา

ติดตอสอบถาม การจองเตียง โทร.043-366-316, 043-366-825

ผาตัดนอกเวลา โทร. 043-366-826 วันจันทร – วันศุกร เวลา 8.30 – 16.30 น.

Page 74: บทที่1 - @@ Home - KKU Web Hosting · สัญญาในว ันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ.2542 แต เนื่องจากในช วงเกิดวิกฤตเศรษฐก

การใหบริการของหองตรวจและการบริการอ่ืนๆ 77

คิวผาตัด

เนือ่งจากในปจจุบนัมผีูปวยท่ีรบับริการท่ีโรงพยาบาลศรีนครินทรมคีวามจําเปนตองรักษาดวยการผาตดัจาํนวนมาก

ทาํใหรอคิวผาตดัเปนเวลานาน ดงันัน้ทางโรงพยาบาลศรีนครนิทรจงึไดเปดการใหบรกิารผาตดั ทัง้ในเวลาและนอกเวลาราชการ

ดังนี้

1. การผาตัดในเวลาราชการ

เปนการผาตัดตามนัดหมายของแพทยตามปกติ ซึ่งจะกําหนดคิวนัดหมายโดยแพทย เมื่อไดคิวนัดหมายผาตัด

เรียบรอยแลว จึงจะติดตอขอจองเตียงหรือจองหองพิเศษ ซึ่งการผาตัดในเวลาราชการจะไดรับ ยกเวน คาธรรมเนียมแพทย

ผาตัด คาธรรมเนียมวิสัญญีแพทยและคาธรรมเนียมพยาบาลหองผาตัด สวนคาใชจายอ่ืน ๆ เชน คาหอง คายา คาผาตัด ยัง

คงตองจายและสามารถใชสทิธไิดตามสิทธคิารักษาพยาบาลของแตละคน เชน เบกิได บตัรทอง หรอืบตัรประกันสงัคม เปนตน

2. การผาตัดนอกเวลาราชการ

เปนการใหบริการผาตัดนอกเวลาราชการ เพื่อเปนทางเลือกสําหรับผูปวยที่ตองการผาตัดที่ไมสามารถรอคิวผาตัด

ในเวลาราชการได หรือผูปวยที่มีผลการวินิจฉัยจากแพทยตาง ๆ วาจําเปนตองรักษาดวยการผาตัดและตองการผาตัดท่ี

โรงพยาบาลศรีนครินทรโดยไมตองรอคิวผาตัดในเวลาราชการ ผูปวยกลุมน้ีสามารถติดตอที่ศูนยจองพิเศษได

การผาตัดนอกเวลาราชการ คือ การผาตัดในวันจันทรถึงศุกร ตั้งแตเวลา 17.00 – 22.00 น. และในวันเสาร-อาทิตย

ระหวางเวลา 08.00 – 22.00 น.

ขอดีของการผาตัดนอกเวลาราชการ

1. ผูปวยสามารถเลือกวันผาตัดไดตามความพรอมของผูปวยและแพทยไมตองรอคิวผาตัด

2. ผูปวยสามารถเลือกแพทยที่ตองการได

3. มีหองพิเศษสามารถเขาพักได

คาใชจายในการผาตัดนอกเวลาราชการ

1. คาธรรมเนียมแพทยผาตัด

2. คาธรรมเนียมวิสัญญีแพทย

3. คาธรรมเนียมพยาบาลหองผาตัด

4. คาใชจายอื่น ๆ เชน คาหอง คายา คาผาตัด ฯลฯ ซึ่งเปนคาใชจายเทากับผาตัดในเวลาราชการ

หมายเหตุ

1. คาธรรมเนียมแพทยผาตดั คาธรรมเนียมวสิญัญแีพทยและคาธรรมเนียมพยาบาลหองผาตดัใชหลกัเกณฑตาม

ประกาศคณะแพทย ฉบับ 28/2551

2. ผูปวยที่ใชสิทธิสวัสดิการขาราชการ ผูปวยสิทธิประกันสังคม ผูปวยบัตรทอง มีคาใชจายเพ่ิม คือ คาธรรมเนียม

แพทยผาตัด คาธรรมเนียมวิสัญญีแพทยและคาธรรมเนียมพยาบาลหองผาตัด ซึ่งคาใชจายสวนน้ีไมสามารถเบิกคืนได

3. ผูปวยที่ใชสิทธิของรัฐวิสาหกิจ คาใชจายเพ่ิม คือ คาธรรมเนียมแพทยผาตัด คาธรรมเนียมวิสัญญีแพทยและ

คาธรรมเนียมพยาบาลหองผาตัด สามารถนําใบเสร็จไปเบิกไดตามสิทธิ

การอุทิศรางกายเพื่อการศึกษา

1. ขอรับแบบฟอรมหนังสืออุทิศรางกายไดที่ติดตอสอบถาม ดานหนาโรงพยาบาลศรีนครินทร หรือดาวนโหลด

แบบฟอรมไดจากเวปไซตของภาควิชากายวิภาคศาสตร http://202.28.95.5/11department/anatomy กรอกขอมูลและ

วัตถุประสงคของผูอุทิศรางกายดวยตัวบรรจง แลวใหญาติและพยานเซนตชื่อรับรอง

Page 75: บทที่1 - @@ Home - KKU Web Hosting · สัญญาในว ันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ.2542 แต เนื่องจากในช วงเกิดวิกฤตเศรษฐก

78 การใหบริการของหองตรวจและการบริการอื่นๆ

2. แนบรูปถายหนาตรง ไมสวมหมวก ขนาด 1 นิ้ว หรือขนาดใกลเคียง จํานวน 2 รูป และสําเนาบัตรประชาชน

1 แผน

3. ยื่นแบบฟอรมโดยตรงตอเจาหนาที่ภาควิชากายวิภาคศาสตร หรือสงทางไปรษณียตามที่อยู ดังน้ี

เรียน

หัวหนาภาควิชากายวิภาคศาสตร

คณะแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน

อ. เมือง จ. ขอนแกน 40002

4. บัตรประจําตัวผูอุทิศรางกาย จะถูกสงกลับไปถึงผูอุทิศรางกายตามท่ีอยูที่ไดระบุไวในแบบฟอรมหนังสืออุทิศ

รางกาย

5. หากผูบริจาครางกายและญาติผู เ ก่ียวของโดยตรง ยายหรือเปล่ียนแปลงท่ีอยู โปรดแจงใหภาควิชา

กายวิภาคศาสตรทราบ และดําเนินการแกไขขอมูลใหเปนปจจบุัน ไดที่โทรศัพทหมายเลข 043-348381, 043-363212, 043-

363173 เพื่อความสะดวกในการติดตอประสานงานพิธีพระราชทานเพลิงศพครูใหญเปนกรณีพิเศษ

การขอประวัติผูปวยเพื่อประกอบการรักษา

1. กรณีใหญาติมาขอ

เอกสารที่ตองเตรียม

1. สําเนาบัตรประชาชนผูปวย

2. สําเนาบัตรประชาชาชนผูขอ/ญาติ

ขั้นตอนการขอประวัติ

1. เขียนคํารองที่งานเวชระเบียน อาคาร สว. ชั้น 2

2. ยื่นคํารองพรอมสําเนาบัตรประชาชนของผูปวยและผูขอ (ถาย่ืนขอในชวงเชาจะไดรับสําเนาประวัติใน

ชวงบาย ถายื่นขอชวงบายจะไดรับสําเนาประวัติในวันถัดไป)

3. เจาหนาที่ผูรับผิดชอบตรวจสอบแลว ใหใบอนุญาตใหผูขอไปถายเอกสาร เมื่อถายเอกสารเสร็จใหนํา

กลับมาที่เวชระเบียน

4. เจาหนาที่ผูรับผิดชอบประทับตราโรงพยาบาลในใบสําเนาประวัติ

5. ผูขอรับเอกสารสําเนาประวัติ

2. กรณีขอผานศูนยประสานการสงตอผูปวย

1. แจงช่ือ-นามสกุล ผูปวย ชื่อผูที่ตองการขอประวัติ และชื่อโรงพยาบาลที่ตองการขอประวัติผานทาง

โทรศัพทหมายเลข 043-363346 หรืออีเมล [email protected]

2. พยาบาลศนูยประสานการสงตอกรณไีมฉกุเฉนิ (พยาบาลดานหนา) จะตดิตอเจาหนาทีเ่วชระเบยีนเพือ่

คนประวัติ

3. พยาบาลศนูยประสานการสงตอกรณไีมฉกุเฉนิจะสรปุประวตัติามทีโ่รงพยาบาลท่ีตองการทราบประวัติ

ระบุ เชน ตองการผลการเพาะเช้ือจากเลือด (hemo C/S)

4. เสนอแบบสรุปประวัติตอรองผูอํานวยการฝายบริการผูปวยนอกเพ่ือเซ็นอนุมัติ

5. สงเอกสารประวัติทางไปรษณีย

Page 76: บทที่1 - @@ Home - KKU Web Hosting · สัญญาในว ันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ.2542 แต เนื่องจากในช วงเกิดวิกฤตเศรษฐก

การใหบริการของหองตรวจและการบริการอ่ืนๆ 79

คาตรวจวินิจฉัยและรักษาทางรังสีวิทยา

คาตรวจวินิจฉัยและรักษาทางรังสี หมายถึง คาบริการทางรังสีวิทยาท้ังในการตรวจวินิจฉัยและการรักษา เชน การ

ทํา X-ray, CT scan, ultrasonography, MRI, radionuclide scan และรังสีรักษาตางๆ เปนตน โดยใหคิดคาบริการรวม

คาอุปกรณ คายา (ถามี) และวัสดุสิ้นเปลืองที่จําเปนโดยตรง เชน ฟลม เข็มและกระบกฉีดยา สายนํ้ําเกลือ ออกซิเจน การใช

เคร่ือง monitor เปนตน (ตองไมนาํไปคิดรวมกับคาเวชภัณฑทีไ่มใชยา หรือคาอุปกรณของใช เคร่ืองมือทางการแพทยอกี) และ

คาบริหารจัดการ

1. คาบริการรังสีวินิจฉัย

ลําดับ รายการ หนวย ราคา หมายเหตุ รหัสรายการ

1 Plain X-ray

1.1 ภาพถายเอ็กซเรยทั่วไป fi lm 170 41001

1.2 Mobile X-ray fi lm 300 41002

1.3 TM joint fi lm 130 41203

1.4 Panoramic/Cephalometry fi lm 300 41201

1.5 Dental fi lm fi lm 80 41202

1.6 Mass chest (small fi lm) fi lm 50 41301

1.7 ภาพถายเอ็กชเรยดิจิตัล ภาพ 220 ไมใหมีการคิดคาฟลมเพ่ิม 41003

2 X-ray: Special

2.1 Fluoroscopic observation ครั้ง 600 ไมรวมคาตัดหรือสงตรวจช้ินเน้ือ 42001

2.2 Myelography one part ครั้ง 2,000 ทุกรายการรวมสารทึบแสง และ 42101

Cervical/lumbar วัสดุปกรณพื้นฐานของหัตถการน้ันๆ

2.3 Myelographycomplete/thoracic ครั้ง 2,550 แลว (รวมทั้งลวดนําทางสาย และสาย 42102

2.4 Sialography ครั้ง 1,150 catheter ที่จําเปนพื้นฐาน 1 ชุด 42201

2.5 Dacryography ครั้ง 1,150 ในกรณี ที่ใชเพิ่ม สามารถเบิกเพ่ิมจาก 42202

2.6 Venography ครั้ง 1,800 พื้นฐานได และตองมีหลักฐานการ 42010

2.7 Mammography ครั้ง 1,200 ใชประกอบการเบิก 42330

2.8 Mammography with US ครั้ง 1,700 42331

2.9 Barium swallowing ครั้ง 1,350 42501

2.10 Esophagogram ครั้ง 1,350 42502

2.11 BS with esophagogram ครั้ง 1,350 42503

2.12 UGI ครั้ง 1,400 42504

2.13 UGI with small bowel series ครั้ง 1,700 42505

2.14 Barium enema, Single CM ครั้ง 1,750 42506

2.15 Barium enema double CM ครั้ง 2,300 42507

2.16 Transhepatic cholangiography ครั้ง 2,050 42508

2.17 T-tube cholangiography ครั้ง 1,300 42509

Page 77: บทที่1 - @@ Home - KKU Web Hosting · สัญญาในว ันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ.2542 แต เนื่องจากในช วงเกิดวิกฤตเศรษฐก

80 การใหบริการของหองตรวจและการบริการอื่นๆ

ลําดับ รายการ หนวย ราคา หมายเหตุ รหัสรายการ

2.18 Intraoperative cholangiography ครั้ง 450 42510

2.19 Fistulography ครั้ง 1,300 42511

2.20 IVP (Ionic contrast) ครั้ง 1,950 42601

2.21 Retrograde Pyelography ครั้ง 1,500 42602

2.22 VCUG/Cystogram ครั้ง 1,800 42603

2.23 Urethrogram ครั้ง 1,500 42604

2.24 Hysterosalpingography ครั้ง 1,850 42605

2.25 Arthrography ครั้ง 1,750 42701

2.26 Bone density : X-rays 1 part ครั้ง 1,000 42702

2.27 Bone density: X-rays whole body ครั้ง 2,900 42703

2.28 Angiography, single shot ครั้ง 4,000 รวมวัสดุเสชภัณฑพื้นฐานในการ 42512

2.29 Angiography, selective ครั้ง 17,000 ทําหัตถการ set เข็ม สายสวน 42513

2.30 Angiography, each following ครั้ง 5,000 catheter และเครื่องมือรังสีวินิจฉัย 42514

vessel

2.31 Splenoportography ครั้ง 18,000 42516

3 Ultrasound

3.1 US Portable ครั้ง 1,050 43001

3.2 3-D Ultrasound ครั้ง 800 43002

3.3 4-D Ultrasound, diagnostic of ครั้ง 2,500 43003

fetal anomalies, breast biopsy

3.4 US small part ครั้ง 650 43004

3.5 US droppler artery or vein ครั้ง 1,000 43005

3.6 US Upper/lower abdomen ครั้ง 650 43501

3.7 US whole abdomen ครั้ง 850 43502

3.8 US Endovaginal or endorectal ครั้ง 850 43601

probe

3.9 Bone density: US ครั้ง 650 43701

3.10 Fine needle aspiration ครั้ง 1,000 รวมวัสดุ set sterile เวชภัณฑพื้นฐาน 43910

under U/S และการใชเครื่องมือรังสีวินิจฉัย

3.11 US guide for biopsy ครั้ง 2,300 รวมวัสดุ set semiautomatic needle

4 CT & CTA เวชภัณฑพื้นฐานและการใชเครื่องมือ

4.1 CT 1 part + multiphase CM ครั้ง 6,800 รังสีวินิจฉัย 44001

4.2 CT 1 part + 3D Navigator ครั้ง 14,500 44002

4.3 3D CT scan ครั้ง 8,000 44003

Page 78: บทที่1 - @@ Home - KKU Web Hosting · สัญญาในว ันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ.2542 แต เนื่องจากในช วงเกิดวิกฤตเศรษฐก

การใหบริการของหองตรวจและการบริการอ่ืนๆ 81

ลําดับ รายการ หนวย ราคา หมายเหตุ รหัสรายการ

4.4 Additional surface 3D views ครั้ง 350 44004

4.5 Additional multiphase ครั้ง 1,000 44005

4.6 CTA 1 part ครั้ง 12,000 44010

4.7 CTA peripheral run off ครั้ง 12,000 44011

4.8 CT Fistulogram ครั้ง 6,000 44020

4.9 CT brain NC ครั้ง 3,100 44101

4.10 CT Brain with CM ครั้ง 4,600 44102

4.11 CTA Brain ครั้ง 12,000 44103

4.12 CT Sella ครั้ง 4,000 44110

4.13 CT Pituitary gland 2 planes ครั้ง 5,000 44111

4.14 CT spine 1 part ครั้ง 5,350 44140

4.15 CT Myelogram ครั้ง 5,800 44150

4.16 CT Facial bone ครั้ง 4,000 44201

4.17 CT Facial bone 3D ครั้ง 6,000 44202

4.18 CT Orbits 2 planes ครั้ง 5,000 44210

4.19 CT Temporal bone ครั้ง 5,000 44220

4.20 CT IAC/Temporal bone ครั้ง 3,100 44221

screening

4.21 CT IAC ครั้ง 5,000 44222

4.22 CT Parotid gland ครั้ง 5,700 44223

4.23 CT Nasal cavity ครั้ง 4,000 44230

4.24 CT Nasopharynx 2 planes ครั้ง 5,700 44231

4.25 CT PNS screening 1 plane ครั้ง 2,500 44232

4.26 CT PNS 2 planes ครั้ง 5,000 44233

4.27 CT oral cavity ครั้ง 5,700 44240

4.28 CT Dental scan-maxilla ครั้ง 5,000 44241

4.29 CT Dental scan-mandible ครั้ง 5,000 44242

4.30 CT Oropharynx ครั้ง 5,700 44243

4.31 CT Neck ครั้ง 5,700 44250

4.32 CTA Neck ครั้ง 12,000 44251

4.33 CT Neck, Thyroid and ครั้ง 5,700 44252

parathyroid

4.34 CT Larynx ครั้ง 5,700 44260

4.35 CT Thyroid ครั้ง 5,700 44261

4.36 CT Chest/Lung CM ครั้ง 5,000 44301

Page 79: บทที่1 - @@ Home - KKU Web Hosting · สัญญาในว ันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ.2542 แต เนื่องจากในช วงเกิดวิกฤตเศรษฐก

82 การใหบริการของหองตรวจและการบริการอื่นๆ

ลําดับ รายการ หนวย ราคา หมายเหตุ รหัสรายการ

4.37 High resolution CT (Lungs) ครั้ง 4,000 เปนราคาเพ่ิมจากรายการตรวจ 44302

4.38 CTA Chest ครั้ง 12,000 CT พื้นฐาน 44310

4.39 CTA for Pulmonary Emboli ครั้ง 12,000 44311

4.40 Cardiac function graft full ครั้ง 18,000 44401

Cardiac function including

coronary artery angiogram

4.41 CTA Coronary artery ครั้ง 13,000 44402

4.42 CTA Aorta 1 part ครั้ง 12,000 44420

4.43 CTA Whole aorta ครั้ง 16,000 44421

4.44 CT Upper abdomen ครั้ง 5,000 44501

4.45 CT Lower abdomen ครั้ง 5,000 44502

4.46 CT Whole abdomen ครั้ง 9,500 44503

4.47 CT Liver donor ครั้ง 12,000 44510

4.48 CT Pancreas spiral ครั้ง 5,000 44511

4.49 CT Kidney spiral ครั้ง 5,000 44610

4.50 CT Renal artery ครั้ง 12,000 44611

4.51 CT Adrenal ครั้ง 5,000 44612

4.52 CT Extremity and joint ครั้ง 5,000 44701

per part

4.53 Bone density: CT ครั้ง 2,500 44710

4.54 CTA Arm ครั้ง 12,000 44750

4.55 Using Nonionic CM add 50 ml. 750 44901

4.56 Biopsy under CT guidance ครั้ง 3,000 รวมวัสดุ set sterile และ 44910

set semiautomatic neddle

5 MRI, MRA, MRV, MRCP

5.1 MRI 1 small part or small organ ครั้ง 4,000 45001

5.2 MRI Diffuse/Perfusion ครั้ง 4,000 45003

5.3 Functional MRI ครั้ง 10,000 45004

5.4 MR Spectroscopy ครั้ง 4,000 45005

5.5 MRA (one part) ครั้ง 9,100 45010

5.6 MRV (one part) ครั้ง 9,100 45011

5.7 MRI+MRA (non brain) ครั้ง 12,000 45020

5.8 MRA+MRV ครั้ง 12,000 45021

5.9 MRI+MRA+MRV ครั้ง 15,000 45022

5.10 MR SRT or SRS ครั้ง 4,000 45030

Page 80: บทที่1 - @@ Home - KKU Web Hosting · สัญญาในว ันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ.2542 แต เนื่องจากในช วงเกิดวิกฤตเศรษฐก

การใหบริการของหองตรวจและการบริการอ่ืนๆ 83

ลําดับ รายการ หนวย ราคา หมายเหตุ รหัสรายการ

5.11 MRI Brain ครั้ง 8,000 45101

5.12 MRI Brain+MRA ครั้ง 11,000 45102

5.13 MRI Brain+ CSF fl ow ครั้ง 11,000 45103

5.14 MRI Hippocampus ครั้ง 4,000 45104

5.15 MRI Pituitary gland ครั้ง 8,000 45110

5.16 MRI Cistemography ครั้ง 8,000 45111

5.17 MRI Base of skull ครั้ง 4,000 45120

5.18 MRI Carvernous sinus ครั้ง 4,000 45121

5.19 MRI Cranial nerve ครั้ง 4,000 45130

5.20 MRI Spine 1 part ครั้ง 8,000 45140

5.21 MRI Whole spine ครั้ง 16,000 45141

5.22 MRI Myelogram ครั้ง 8,000 45150

5.23 MRI Brachial plexus ครั้ง 13,500 45160

5.24 MRI LS-plexus ครั้ง 8,000 45161

5.25 MRI Sacral plexus ครั้ง 4,000 45162

5.26 MRI TM joint ครั้ง 8,000 45201

5.27 MRI Orbits ครั้ง 8,000 45211

5.28 MRI 3D IAC ครั้ง 4,000 45220

5.29 MRI Nasopharynx ครั้ง 8,000 45230

5.30 MRI PNS ครั้ง 8,000 45231

5.31 MRI Oropharynx คร้ัง 8,000 45240

5.32 MRA Carotid ครั้ง 12,000 45250

5.33 MRI Larynx (Neck) ครั้ง 8,000 45260

5.34 MRI Thyroid glands ครั้ง 8,000 45261

5.35 MRI Chest ครั้ง 12,000 45301

5.36 MRV Chest ครั้ง 12,000 45302

5.37 MRA Pulmonary ครั้ง 12,000 45310

5.38 MRI Mediastinum ครั้ง 4,000 45320

5.39 MRI Breast (1 side) ครั้ง 8,000 45330

5.40 MRI Breast (2 sides) ครั้ง 12,000 45331

5.41 MRI guide breast biopsy ครั้ง 8,000 45332

5.42 MRI Heart ครั้ง 8,000 45401

5.42 MRI Heart + Perfusion ครั้ง 12,000 45402

5.44 MRI Heart CgHD/Cine ครั้ง 12,000 45403

5.45 MRI Heart screening ASD ครั้ง 4,000 45404

Page 81: บทที่1 - @@ Home - KKU Web Hosting · สัญญาในว ันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ.2542 แต เนื่องจากในช วงเกิดวิกฤตเศรษฐก

84 การใหบริการของหองตรวจและการบริการอื่นๆ

ลําดับ รายการ หนวย ราคา หมายเหตุ รหัสรายการ

5.46 MRA Heart ครั้ง 12,000 45410

5.47 MRA Aorta ครั้ง 12,000 45420

5.48 MRI Upper/lower abdomen ครั้ง 8,000 45501

5.49 MRI Whole abdomen ครั้ง 16,000 45502

5.50 MRA Upper/lower abdomen ครั้ง 12,000 45503

5.51 MRA Whole abdomen ครั้ง 16,000 45504

5.52 MRV Upper/lower abdomen ครั้ง 12,000 45505

5.53 MRI Pancreas ครั้ง 4,000 45510

5.54 MRCP only ครั้ง 4,000 45511

5.55 MRCP+Upper abdomen ครั้ง 12,000 45512

5.56 MRV portal vein ครั้ง 12,000 45513

5.57 MRI Pelvic cavity ครั้ง 4,000 45601

5.58 MRI Urography ครั้ง 4,000 45602

5.59 MRI Kidney ครั้ง 4,000 45611

5.60 MRI Adrenal gland ครั้ง 4,000 45612

5.61 MRA Renal artery ครั้ง 12,000 45613

5.62 MRI Prostate gland ครั้ง 8,000 45640

5.63 MRS Prostate gland ครั้ง 4,000 45641

5.64 MRI Prostate special coil ครั้ง 12,000 45602

5.65 MRI Bone/joint/extremity ครั้ง 8,000 45701

1 part

5.66 MR Arthrography ครั้ง 8,000 45710

5.67 MRA Femoral artery/ ครั้ง 12,000 45760

Peripheral run off

5.68 MRV femoral vein ครั้ง 12,000 45761

5.69 Using Gd contrast medium 15 ml. 2,500 45901

5.70 Using Ferucarbotran contrast vial 9,050 45902

medium

6 อื่น ๆ

6.1 Angiography ครั้ง 17,000 42513

6.2 DSA ครั้ง 12,000 72942

6.3 PTBD/PTBD revise ครั้ง 13,000 72610

6.4 PTBD with stent ครั้ง 17,000 72611

Page 82: บทที่1 - @@ Home - KKU Web Hosting · สัญญาในว ันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ.2542 แต เนื่องจากในช วงเกิดวิกฤตเศรษฐก

การใหบริการของหองตรวจและการบริการอ่ืนๆ 85

ลําดับ รายการ หนวย ราคา หมายเหตุ รหัสรายการ

6.5 PTBD irrigate ครั้ง 1,700 72940

6.6 CT guide biopsy ครั้ง 3,000 44910

6.7 PCD ครั้ง 13,000 72610

6.8 PCN ครั้ง 13,000 72610

6.9 PEI ครั้ง 2,300 43911

6.10 Non-ionic 750 44901

7 อุปกรณสิ้นเปลือง

7.1 ทอคาสายสวนหลอดเลือด ชิ้น 1,000 4701

7.2 ลวดนําสายสวนหลอดเลือด ชิ้น 500 4406

7.3 สายสวนหลอดเลือดชองทอง ชิ้น 1,264 4401

7.4 สายสวนหลดเลือดเพื่อนําทาง ชิ้น 4,000 4301

7.5 สายสาวนหลอดเลือดอเนกประสงค ชิ้น 13,008 4316

7.6 ลวดนําสายสวนหลดเลือดขนาดเล็ก ชิ้น 4,000 4302

7.7 ขดลวดอุดกั้นหลดเลือด ชิ้น 5,000 4411

7.8 สารอุดกั้นหลดเลือด (PAV) 5,000 4411

7.9 กาวนอุดกั้นหลอดเลือด 5,000 4411

7.10 Spongostan special 283 0000

Page 83: บทที่1 - @@ Home - KKU Web Hosting · สัญญาในว ันที่ 1 ตุลาคม พ.ศ.2542 แต เนื่องจากในช วงเกิดวิกฤตเศรษฐก

พิมพที่ : หจก.โรงพิมพคลังนานาวิทยา 232/199 ถ.ศรีจันทร ต.ในเมือง อ.เมือง จ.ขอนแกน 40000Tel. 0-4332-8589-91 Fax. 0-4332-8592 E-mail : [email protected] 02/2554